1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
การมีนิสัยการเรียนที่เหมาะสม และการมีพฤติกรรมที่เหมาะสมและเป็นไปตามอัตลักษณ์ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี คือ “ประพฤติดี มีจิตอาสา” ดังนี้
1.1.1 ตรงต่อเวลา
1.1.2 แต่งกายตามระเบียบของมหาวิทยาลัย (สำหรับนักศึกษาภาคปกติ) หรือมีการแต่งกายเรียบร้อย (สำหรับนักศึกษาภาคพิเศษ)
1.1.3 มีจิตอาสา มีน้ำใจเอื้อเฟื่อเผื่อแผ่ และช่วยเหลือผู้อื่น
1.1.4 ปฏิบัติหน้าที่ของการเป็นนักศึกษาที่ดี เช่น การให้ความเคารพอาจารย์ การทักทายทำความเคารพอาจารย์นอกชั้นเรียน การช่วยงานของสาขาวิชา คณะ มหาวิทยาลัย และชุมชน
1.1.5 รับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น
1.1.6 มีมารยาทในชั้นเรียน เช่น การไม่คุยในชั้นเรียน การไม่ใช้โทรศัพท์ในชั้นเรียน ไม่ออกจากชั้นเรียนในขณะสอนบ่อยครั้ง
2.1 การสอนสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมกับในเนื้อหารายวิชา
2.2 การมอบหมายงานกลุ่ม
2.3 การกำหนดให้นักศึกษาเข้าชั้นเรียนตรงเวลา การแต่งกายให้เป็นตามระเบียบของมหาวิทยาลัย และต้องมีมารยาทในชั้นเรียน
2.4 การเป็นแบบอย่างที่ดีของอาจารย์
2.5 การใช้การปรับพฤติกรรม เสริมแรงพฤติกรรมที่เหมาะสม และลงโทษพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
2.6 การศึกษาดูงานหรือกิจกรรมนอกห้องเรียน
การสังเกตพฤติกรรมในการเรียนและการทำงานในชั้นเรียน
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิข้อมูลส่วนบุคคล
(1) ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
(2) มีวินัย ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
(3) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไข้ข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
(4) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
(1) สอดแทรกระหว่างการเรียนการสอนในทุกครั้ง
(2) การแสดงความคิดเห็นในเรื่องความมีวินัย ใฝ่รู้ ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ และความมีน้ำใจ
(3) การปฏิบัติตนอันเป็นแบบอย่างที่ดีของอาจารย์ผู้สอน
(1) ประเมินจากพฤติกรรมในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียน
- มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและ สังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม (1.3)
1. ให้ความสำคัญในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับของมหาวิทยาลัยและสังคม เช่น การเข้าเรียน การส่งงาน และการแต่งกาย
2. กำหนดให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมเสริมความเป็นครูกิจกรรมอื่น ๆ ที่มหาวิทยาลัย และคณะกำหนด
3. มีการบูรณาการคุณธรรม จริยธรรมกับการเรียนการสอนทุกรายวิชาและผู้สอนประพฤติตนเป็นแบบอย่าง
4. มีโครงการยกย่องเชิดชูเกียรตินักศึกษาที่มีความประพฤติดี
1. ให้คะแนนการปฏิบัติตามระเบียบการเข้าเรียน การส่งงานและการแต่งกาย
2. ประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสาธารณประโยชน์และปฏิบัติตามกฎระเบียบ
3. สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
1. มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและกลุ่ม การส่งงานที่รับมอบหมายภายในเวลาที่กำหนด
2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการ
3. รับฟังความคิดเห็นของเพื่อนในชั้นเรียน
4. เคารพกฎระเบียบของมหาวิทยาลัยและข้อตกลงในการเรียนวิชาฟิสิกส์ 2
1. กำหนดข้อตกลงการเรียนการสอนร่วมกันระหว่างนักศึกษากับอาจารย์ผู้สอน เช่น การเข้าชั้นเรียน การปิดระบบสื่อสาร การแต่งกายตามระเบียบมหาวิทยาลัย
2. สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนเป็นระยะๆ
3. นำเสนอข้อมูลจากการสืบค้นและซักถามหรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลหรือความรู้ที่เพื่อนนำเสนอ
4. เปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นหรือซักถามในหัวข้อต่าง ๆ ที่สอนหรือการแสดงความคิดเห็น
5. การปฏิบัติตนของอาจารย์ผู้สอนให้เป็นแบบอย่าง ด้านคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู ความรับผิดชอบ ความมีวินัยในตนเอง การรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา
1.ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
2.ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรม
3.ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
4.ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
- ยึดถือเคารพในกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม (1.2)
1. ส่งเสริมและกำหนดแนวทางที่สอดแทรกจรรยาบรรณวิชาชีพทั้งในภาคทฤษฎีและปฏิบัติ2. ส่งเสริมและกำหนดแนวทางเพื่อให้เกิดการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆของมหาวิทยาลัยและสังคม3. ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้และสอดแทรกแนวคิดในเรื่องสิทธิส่วนบุคคลและสิทธิต่อบุคคลอื่นๆ บนพื้นฐานบทบาทหน้าที่พลเมืองที่ดี4. สอดแทรกแนวคิดการมองโลกในแง่ดี โดยคำนึงถึงหลักคุณธรรม
1. แบบประเมินจรรยาบรรณวิชาชีพ2. การวัดผลพฤติกรรมการเรียน ด้านจิตพิสัย ได้แก่ การเข้าห้องเรียน,การแต่งกาย,การส่งงาน3. การวัดผลพฤติกรรมการแสดงออกด้านท่าทางและด้านความคิดเห็นโดยการพูด การเขียนโดยผ่านสื่อต่างๆ4. จัดกิจกรรมเพื่อการศึกษา การเรียนรู้ชุมชน5. สังเกตและบันทึกพฤติกรรมรายบุคคลในด้านต่างๆเพื่อการปรับเปลี่ยนที่ดีขึ้น
1. มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
2. ยึดถือเคารพในกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
3. ยึดถือเคารพสิทธิของตนและผู้อื่น ตลอดจนหน้าที่พลเมืองที่ดี
4. มองโลกในแง่ดีมีเหตุผลโดยยึดหลักคุณธรรม
1. ส่งเสริมและกำหนดแยวทางที่สอดแทรกจรรยาบรรณวิชาชีพทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
2. ส่งเสริมและกำหนดแนวทางเพื่อให้เกิดการปฏบัติตามกฏระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย
3. ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้และสอดแทรกแนวคิดในเรื่องของสิทธิส่วนบุคคลและสิทธิต่อผู้อื่นบนพื้นฐานหน้าที่พลเมืองที่ดี
4. สอดแทรกแนวคิดการมองโลกในแง่ดี โดยคำนึงถึงหลักคุณธรรม
1. แบบประเมินจรรยาบรรณวิชาชีพ
2. การวัดผลพฤติกรรมการเรียนด้านจิตพิสัย ได้แก่ การเข้าห้องเรียน , การแต่งกาย , การส่งงาน
3. การวัดผลพฤติกรรมการแสดงออกด้านท่าทางและความคิดเห็นโดยการพูด การเขียนผ่านสื่อต่าง ๆ
4. การจัดกิจกรรมเพื่อการศึกษา การเรียนรู้ชุมชน
5. สังเกตและบันทึกพฤติกรรมรายบุคคลในด้านต่าง ๆ เพื่อการปรับเปลี่ยนที่ดีขึ้น
- มีวินัย ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม (1.2)
1. ร่วมกันสร้างให้มีวัฒนธรรมองค์การ เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย 2. เน้นการเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและการแต่งกายให้เป็นตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 3. มอบหมายให้นักศึกษาท างานเป็นกลุ่ม ฝึกการเป็นผู้นำสมาชิกกลุ่ม ฝึกความรับผิดชอบ 4. อาจารย์ผู้สอนปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมในการสอน 5. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง บทบาทสมมติ กรณีตัวอย่าง 6. มีสื่อการเรียนการสอนที่เน้นคุณธรรม จริยธรรม 7. จัดกิจกรรมส่งเสริมการปลูกฝังจิตวิญญาณในการถือประโยชน์สังคมเป็นที่ตั้ง 8. การเป็นแบบอย่างที่ดีของอาจารย์ 9. จัดกิจกรรมยกย่องนักศึกษาที่มีคุณธรรม จริยธรรม ทำประโยชน์ต่อสังคม
1. ประเมินจากการตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าเรียน การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย การเข้าร่วมกิจกรรม 2. ความมีวินัยและความพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร 3. การรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 4. พฤติกรรมการเรียนและการสอบ
1. ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
2. มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
3. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. การใช้ตัวอย่างเกี่ยวกับความรับผิดชอบและการมีวินัย
2. สอดแทรกในเนื้อหาวิชาเรียน เช่น จรรยาบรรณในวิชาชีพ
3. การเป็นแบบอย่างที่ดีในการเข้าสอน
1. นักศึกษาประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง ก่อนและหลังการเรียน
2. ประเมินโดยอาจารย์จากการสังเกตพฤติกรรมการแสดงออกตามปกติของนักศึกษา
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟต์แวร์ และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีความซื่อสัตย์ในการสื่อสารข้อมูลและใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรมจริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
- ตระหนักในคุณค่า รู้และเข้าใจหลักคุณธรรมจริยธรรมที่สำคัญต่อการดำรงตนและการปฏิบัติงาน (1.1)- มีวินัย ตรงต่อเวลา เสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม (1.2)- เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ (1.3)
1.ให้ความสำคัญในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับของมหาวิทยาลัยและสังคม เช่น การเข้าเรียน การส่งงาน และการแต่งกาย2.เปิดโอกาสให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อคณะ มหาวิทยาลัย ชุมชน และสังคม3.บูรณาการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม การดำรงตนกับเนื้อหากิจกรรมในบทเรียน4.ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ5.เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย6.ใช้กรณีศึกษาและการอภิปรายเพื่อสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม7.ผู้สอนประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
1. ให้คะแนนการปฏิบัติตามระเบียบการเข้าเรียน การส่งงานและการแต่งกาย2. สร้างแบบประเมินการเข้าร่วมกิจกรรม3. สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ4. ประเมินจากแบบทดสอบ5. ใช้การสัมภาษณ์และบันทึกผลการสัมภาษณ์6. สร้างแบบบันทึกความดี7. ประเมินพฤติกรรมผู้เรียนจากบุคคลที่หลากหลาย
- ตระหนักในคุณค่า รู้และเข้าใจหลักคุณธรรมจริยธรรมที่สำคัญต่อการดำรงตนและการปฏิบัติงาน
- มีวินัย ตรงต่อเวลา เสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
- เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่นทั้งทางกาย วาจา และใจ
- ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
- บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้ โดยมีวัตถุประสงค์ไม่สุจริต หรือจากมิจฉาชีพ การป้องกันตนเอง
- อภิปรายกลุ่ม
- กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง
- บทบาทสมมติ
- พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
- มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- การมีส่วนร่วมในการเรียน การทำงานกลุ่มและความมีสัมมาคารวะต่ออาจารย์
พัฒนาผู้เรียนให้มีวินัย ตรงต่อเวลา เสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ และสังคม รวมทั้งประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่นทั้งทางกาย วาจา และใจ
- สอนโดยสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม และการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
- สอนโดยใช้วิธีการแก้ปัญหา (Problem-based Learning)
- มอบหมายงานกลุ่ม เพื่อให้นักศึกษามีความรับผิดชอบ
- สังเกตและตรวจสอบจากพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน
- สังเกตและประเมินพฤติกรรมของนักศึกษาในการเรียนและการเข้าร่วมกิจกรรม
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา มีวินัยในชั้นเรียน การแต่งกายสุภาพเรียบร้อย เหมาะสมกับกาลเทศะ สามารถปรับตัวอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข มีจิตสำนึกในการรักษาความเป็นไทย และมีจิตสำนึกในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
- ตระหนักในคุณค่า รู้และเข้าใจหลักคุณธรรมจริยธรรมที่สำคัญต่อการดำรงตนและการปฏิบัติงาน (1.1)- มีวินัย ตรงต่อเวลา เสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม (1.2)
- มีวินัย ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม รวมถึงมีจิตอาสาพัฒนาท้องถิ่น (1.1)
- มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ (1.2)
- เคารพกฎระเบียบ กติกา และข้อบังคับต่าง ๆ ของสถาบัน องค์กรและสังคม (1.3)
- มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมได้ (1.4)
1.กระบวนการเรียนการสอนโดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และซื่อสัตย์สุจริต โดยสอดแทรกในรายวิชาของหลักสูตร
2.สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน
3.การบรรยายพิเศษโดยผู้มีประสบการณ์ หรือนักวิชาการด้านนิเทศศาสตร์
4.การแสดงออกอันเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้สอน และการสร้างวัฒนธรรมองค์กรเพื่อปลูกจิตสำนึกขั้นพื้นฐานให้กับนักศึกษาในการรักษาระเบียบวินัยของมหาวิทยาลัย การมีส่วนร่วมในการพัฒนาคณะ มหาวิทยาลัยและชุมชน การตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบในหน้าที่ และความซื่อสัตย์สุจริต
1.ประเมินพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันกับผู้สอน
2.จัดให้มีการประเมินผลงานของตนเอง และการทำงานเป็นกลุ่ม ในการทำกิจกรรมหรือผลงานตามที่ได้รับมอบหมาย
3.กำหนดหัวข้อทางคุณธรรม จริยธรรมในกิจกรรมการเรียนการสอน และการจัดทำผลงานด้านนิเทศศาสตร์อย่างสร้างสรรค์
4.จำนวนครั้งในการเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม อย่างสร้างสรรค์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ตลอดหลักสูตร
5.จำนวนกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการพัฒนาท้องถิ่น
มีความรู้ความเข้าใจเรื่องประวัติความเป็นมาของการเพาะเห็ด การจำแนกเห็ดราและชนิดของเห็ด ประโยชน์และความ สำคัญของเห็ด สภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการเพาะเห็ด วิธีการเพาะเลี้ยงเชื้อเห็ด ศัตรูเห็ดและการดูแลรักษา การเก็บดอกเห็ด ปัญหาที่พบในการเพาะเห็ด เห็ดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจของไทย เห็ดพิษ การถนอมและการแปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ด
(1) วิธีการสอนแบบบรรยาย
(2) วิธีการสอนแบบอภิปราย
(3) วิธีการสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
(4) วิธีการสอนแบบทดลองปฏิบัติการ
(5) การทำรายงานกลุ่มและรายงานเดี่ยว
(6) การค้นคว้าด้วยตนเอง
(1) ประเมินผลจากการเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
(2) การอภิปรายในห้องเรียน หรือกิจกรรม การให้ความร่วมมือกับสมาชิกในชั้นเรียน
(3) การค้นคว้า การทำรายงานและการนำเสนอรายงาน
(4) การทดสอบกลางภาค ทดสอบปลายภาค
- ความรู้วิชาชีพครู (Pedagogical Knowledge) (2.1) - ความรู้เชิงบูรณาการระหว่างวิชาชีพครูกับวิชาเฉพาะ (Pedagogical Content Knowledge) (2.2)
1.จัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญให้ผู้เรียนมีการเรียนรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้แบบมีส่วนร่วม เรียนรู้ปัญหาเป็นพื้นฐาน เรียนรู้จากสถานการณ์จริง ทั้งการเรียนรู้ในชั้นเรียน และชุมชน
2.กลวิธีการสอนที่หลากหลาย เช่นบรรยายร่วมกับการอภิปราย การศึกษาด้วยตนเองและสะท้อนผลการเรียนรู้ การวิเคราะห์จากกรณีศึกษา การแสดงบทบาทสมมุติ และการวิเคราะห์จากกรณีศึกษา
3. ฝึกปฏิบัติการจริง เช่น การฝึกปฏิบัติการสอนกลุ่มเล็ก, การฝึกปฏิบัติสร้างเครื่องมือวัดผล, การวิจัยทางการศึกษาและการสร้างสื่อการสอนทั้งสื่อทำมือและสื่อมัลติมีเดีย
ใช้วิธีประเมินการเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้
1. การให้นักศึกษาประเมินพฤติกรรมของตนเอง
2. การทดสอบวัดภาคปฏิบัติและภาคความรู้
3. การประเมินผลการปฏิบัติงาน
4. การสังเกตพฤติกรรมนักศึกษาทั้งในและนอกห้องเรียน
- การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า
- วงจรไฟฟ้ากระแสตรง
- กระแสไฟฟ้า
- กฎของโอห์ม
- วงจรอนุกรม
- วงจรขนาน
- กฎของเคอร์ชอฟฟ์
- วงจรแบ่งแรงดัน
- วงจรแบ่งกระแส
- ตัวเก็บประจุ Capacitor
- การอัดประจุ (Charge)
- การคายประจุ (Discharge)
- ประจุไฟฟ้า
- กฎของคูลอมบ์
- ศักย์ไฟฟ้า
- ความจุไฟฟ้า
- สนามไฟฟ้า
- กฎของเกาส์
- แรงของโลเร็นตซ์
- สนามแม่เหล็กอันเนื่องมาจากกระแสไฟฟ้า
- กฎของแอมแปร์
- กฎของฟาราเดย์-เลนซ์
- แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ
- สารแม่เหล็ก
- การแกว่งกวัดของสนามไฟฟ้า
- แสงเชิงเรขาคณิต
- การสะท้อน
- การหักเห
- การเลี้ยวเบน
- การแทรกสอด
- สเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
- ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ
- โครงสร้างอะตอม
- กัมมันตภาพรังสี
- นิวเคลียสและการสลายนิวเคลียส
1.ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนแบบปฏิบัติ การสอนแบบ Active Learning การสอนแบบการอภิปราย การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง
2.ฝึกปฏิบัติ การสืบค้น ทำรายงานและนำเสนอผลการสืบค้น
3.การบรรยายของอาจารย์ผู้สอนหรือวิทยากร หรือการศึกษาในแหล่งเรียนรู้
1.การทดสอบย่อย
2.สอบข้อเขียน
3.สอบปฏิบัติการ
4.สอบปากเปล่า
5.การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
6.ประเมินจากแบบฝึกและรายงาน
7.ประเมินจากการศึกษาด้วยตนเอง
1. มีความรู้ในหลักการทฤษฎีพื้นฐานทางเทคโนโลยีอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ (2.1)2. มีความรู้ความเข้าใจในวงจรและกระบวนการทางเทคโนโลยี ได้แก่ ปัจจัยนำเข้า (INPUT) ,กระบวนการผลิต (PROCESS) , ผลผลิต (OUTPUT) (2.3)3. มีความรู้ ความเข้าใจในหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (2.4)4. มีความสามารถในการบูรณาการความรู้ เพื่อแสวงหาหนทางที่เหมาะสมในการแก้ปัญหา พัฒนาหรือปรับปรุงทางเทคโนโลยี (2.5)
1. การจัดการเรียนที่มีความหลากหลาย ตามลักษณะของเนื้อหาสาระ ได้แก่ การบรรยาย การอภิปราย การประลองทักษะ สถานการณ์จำลองตลอดจนการใช้เทคนิคการสอนอื่นๆ ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เช่น การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง2. การจัดการเรียนรู้โดยอาศัยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน3. การเรียนรู้จากสถานการณ์จริงจากการทัศนศึกษาและจากการฝึกงานในสถานประกอบการอุตสาหกรรม4. จัดกิจกรรมให้นักศึกษาเข้าร่วมฟังการบรรยาย การแสดงนิทรรศการ และการนำเสนอผลงานทางวิชาการ5. สอดแทรกแนวคิดการเดินทางสายกลาง บนพื้นฐานทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง6. ฝึกการเชื่อมโยงองค์ความรู้ จากเก่าสู่ใหม่อย่างมีแบบแผน
1. ประเมินจากผลงานระหว่างภาคเรียน เช่น การบ้าน การเขียนรายงาน การสอบย่อย การนำเสนอรายงานการค้นคว้า2. ประเมินผลจากการสอบข้อเขียนการสอบปฏิบัติ3. แบบประเมินความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาดูงาน4. แบบประเมินผลความรู้ที่ได้รับจากวิทยากร5. แบบประเมินผลความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการ6. แบบประเมินผลการนำเสนอผลงานเชิงบูรณาการความรู้ของนักศึกษา
- มีความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากลและทันสมัยต่อสถานการณ์โลก (2.1)- มีความรู้ในสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้องได้แก่ ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ ระบบงานธุรกิจ สังคมและวัฒนธรรมและวิชาที่เกี่ยวข้องด้านคอมพิวเตอร์กับการประยุกต์ใช้ (2.2)- มีความรู้ ความเข้าใจในการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานในสาขาอาชีพ (2.7)
1. เน้นการเรียนการสอนที่เป็น active learning 2. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง 3. จัดให้มีการศึกษาดูงานทั้งในและต่างประเทศ 4. จัดบรรยายพิเศษโดยวิทยากรภายนอกที่มีความเชี่ยวชาญ หรือมีประสบการณ์ตรง 5. จัดให้มีรายวิชาโครงงาน/การฝึกปฏิบัติ/การฝึกสหกิจศึกษาในสถานประกอบการ 6. จัดให้มีการสอบ microsoft certificate
1. การทดสอบย่อย 2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 3. การรายงาน/แผนงาน/โครงการ 4. การน าเสนอผลงาน 5. การฝึกประสบการณืวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ใบ microsoft certificate อย่างน้อย 1 ใบ
1. มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษา
2. ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการเกี่ยวกับการขยายพันธุ์เฉพาะอย่างยิ่งการขยายพันธุ์พืชผักที่ทันสมัยเพื่อพัฒนาความรู้อย่างต่อเนื่อง
1. การให้ภาพรวมของความรู้ก่อนเข้าสู่บทเรียน การสรุปย้ำความรู้ใหม่หลังบทเรียนพร้อมกับเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม
2. ใช้การสอนหลายรูปแบบ ตามลักษณะของเนื้อหาสาระ ได้แก่ การบรรยาย การทบทวน การฝึกปฏิบัติการ และเทคนิคการสอนอื่นๆที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
3. การถาม-ตอบปัญหาทางวิชาการในห้องเรียน
1. ประเมินจากผลงานระหว่างภาค เช่น การบ้าน การเขียนรายงาน การสอบย่อย การนำเสนอรายงานการค้นคว้าหน้าชั้น
2. ประเมินจากการสอบข้อเขียน การสอบปฏิบัติ
3. นำเสนอรายงานการค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องหน้าชั้น
มีความรู้ในการทำงานของสถาปัตยกรรมและองค์ประกอบของระบบเครือข่ายสื่อสารทางคอมพิวเตอร์ แนวคิดและมาตรฐานของโปรโตคอล ต้นแบบ OSI และอินเตอร์เน็ตที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล ระบบเครือข่ายท้องถิ่น การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายและเกตเวย์ การทางานของเน็ตเวิร์กและทรานสปอร์ตเลเยอร์ ตัวเชื่อมต่อการสื่อสารข้อมูล การควบคุมการโยงข้อมูล การส่งหลายสัญญาณพร้อมกัน
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้
ค้นคว้าหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงาน
Problem base learning และ Student Center เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
- มีความรู้และความเข้าใจสาระสำคัญของหลักการและทฤษฎีที่เป็นพื้นฐานชีวิต และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปบูรณาการกับศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (2.1)- มีความรอบรู้ กว้างไกล และติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการในวิชาที่ศึกษา รวมทั้งเข้าใจหลักการและประยุกต์ใช้เพื่อแก้ไขปัญหา ต่าง ๆ (2.2)
1.การบรรยายและอภิปรายในชั้นเรียน2.จัดกิจกรรมแก้ปัญหาเพื่อสร้างสถานการณ์จำลอง เพื่อนำความรู้ไปบูรณาการ3.มอบหมายหัวข้อเรื่องให้ค้นคว้าและทำรายงานทั้งเดี่ยวและกลุ่ม เพื่อนำเสนอในชั้นเรียน4.ค้นคว้าวิเคราะห์และเรียนรู้จากการทำกรณีศึกษา เพื่อนำความรู้ทางทฤษฎีมาประยุกต์ใช้5.ศึกษาดูงานนอกสถานที่6.เรียนรู้จากสถานการณ์จริง สถานที่จริง แล้วนำผลมาอภิปรายสรุป เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ในชั้นเรียน7.ใช้การสืบค้นข้อมูลจาก เทคโนโลยีสารสนเทศ สื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ เพื่อการเรียนรู้ในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และนานาชาติ8.การนำเสนอที่ผู้เรียนสนใจเพื่อการเรียนรู้ของกลุ่ม
1.ใช้ข้อสอบวัดความรู้ในทางทฤษฎีทั้งกลางภาคและปลายภาค2.ประเมินผลจากงานที่ได้รับมอบหมาย และการนำเสนอหน้าชั้นเรียน3.ประเมินผลจากพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการเรียน4.ประเมินจากรายงาน การศึกษา ดูงาน
- มีความรู้และความเข้าใจสาระสำคัญของหลักการและทฤษฎีที่เป็นพื้นฐานชีวิตใน เนื้อหาวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป
- มีความรอบรู้ ความก้าวหน้าทางวิชาการในวิชาที่ศึกษา รวมทั้งเข้าใจหลักการประยุกต์ใช้แก้ปัญหาต่าง ๆ
- สามารถบูรณาการความรู้ในวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
-รู้เท่าทันสถานการณ์ความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และนานาชาติ
- บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง
- สอบกลางภาค ปลายภาค การสอบย่อย
- ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
- ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
- มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและสาขาวิชาการโรงแรม ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก (2.1)- มีความรู้ในกระบวนการและเทคนิคการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ในงานอาชีพ (2.3)
1. มีวิธีการสอนอย่างหลากหลาย โดยเน้นการเรียนแบบให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม
2. การเรียนรู้โดยแต่ละรายวิชามีจุด เน้นที่องค์ความรู้ทางด้านเทคโนโลยี การสื่อสารมวลชน หลักการทฤษฎีและการฝึกปฏิบัติจริง
3. ให้มีการเรียนรู้โดยการฝึกทบทวนและปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นทั้งในสถานการณ์จำลองและสถานการณ์จริง
4. มอบหมายงานให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติและเรียนรู้ด้วยตนเองทำการศึกษาค้นคว้า คิดอย่างมีระบบ รู้จักสังเกต และนำองค์ความรู้ที่ได้เรียนมาสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพแล้วนำเสนอและอภิปรายได้
1. ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
2.ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน
3.ประเมินจากรายงานที่ให้ค้นคว้า
4.ประเมินโดยการฝึกปฏิบัติในสถานการณ์จำลอง
5. การประเมินตนเองด้านความรู้ของนักศึกษา
มีความรู้ความใจเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์และการพัฒนาตนมีความจำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตของตน การอยู่ร่วมกับผู้อื่น สังคมและประเทศชาติอย่างสันติสุข
๒.๒.๑ การบรรยาย
๒.๒.๒ การศึกษาด้วยตนเองและสะท้อนผลการเรียนรู้
๒.๒.๓ การวิเคราะห์จากกรณีศึกษา
๒.๒.๔ การแสดงบทบาทสมมุติ
๒.๒.๕ การอภิปรายกลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่
๒.๒.๖ การระดมสมอง
๒.๒.๗ การประเมินตนเอง
๒.๒.๘ การศึกษานอกสถานที่หรือกิจกรรมนอกห้องเรียน
๒.๒.๙ การฝึกปฏิบัติและสะท้อนผลการฝึกปฏิบัติ
๒.๓.๑ การทดสอบ
๒.๓.๒ การประเมินจากผลงาน
๒.๓.๓ การสังเกตพฤติกรรม
ความรอบรู้ รู้เท่าทันสถานการณ์ความเปลี่ยนแปลง ทั้งในระดับท้องถิ่น ชาติ และนานาชาติ ทางด้าน ข่าวสาร เหตุการณ์ปัจจุบัน ความบันเทิง ประเพณีวัฒนธรรม สถานที่ท่องเที่ยวในภูมิภาคตะวันตก และปัญหาสิ่งแวดล้อม รวมทั้งนำเสนอแนวทางในการแก้ปัญหา
- บรรยาย อธิบาย ยกตัวอย่าง
- ฝึกอ่านบทอ่านที่หลากหลายเป็นรายบุคคล คู่ และกลุ่ม และตอบคำถาม
- ฝึกอ่านบทความแล้วทำกิจกรรมที่กำหนด
- ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
- สอบปฏิบัติ
- สังเกตจากพฤติกรรมการมีส่วนร่วม
- สอบย่อยประจำบท สอบกลางภาค และปลายภาค
- ประเมินจากงานที่มอบหมาย
มีความรู้เกี่ยวกับความเป็นมาของไทย ลักษณะพื้นฐานของสังคมและวัฒนธรรมไทย พหุวัฒนธรรมและ ชาติพันธุ์ในสังคมไทย พัฒนาการทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองไทย ภูมิปัญญาไทยและการปรับตัวของสังคมไทยให้เหมาะสมกับสถานการณ์โลกปัจจุบัน
- มีความรู้และความเข้าใจสาระสำคัญของหลักการและทฤษฎีที่เป็นพื้นฐานชีวิต และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปบูรณาการกับศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (2.1)
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การมอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง แล้วนำมาสรุป นำเสนอ เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
- มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและวิธีการพูดในแต่ละประเภทได้ถูกต้อง (2.1)- มีทักษะหรือความสามารถพิเศษที่เกี่ยวข้องกับงานด้านการพูดเพื่อการประชาสัมพันธ์ เช่น การกล่าวสุนทรพจน์ การสัมภาษณ์ (2.2)
1.การบรรยายในชั้นเรียน
2.การทำรายงานเดี่ยว/กลุ่ม
3.การอภิปรายกลุ่ม
4.การอบรมเพิ่มทักษะด้านการพูดเพื่อการประชาสัมพันธ์
5.การศึกษาดูงานนอกสถานที่
6.การจัดโครงการจากการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
7.การจัดโครงการพิเศษ/ให้บริการวิชาการแก่ท้องถิ่น
1.ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติในการสอบย่อยและให้คะแนน
2.ทดสอบในการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
3.ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
4.ประเมินผลจากรายงานที่ให้ค้นคว้า
5.จำนวนครั้งในการเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมอย่างสร้างสรรค์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ตลอดหลักสูตร
6.จำนวนโครงการพิเศษ/การให้บริการวิชาการแก่ท้องถิ่นอย่างน้อย 1 โครงการในแต่ละปีการศึกษา
ความสามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ สามารถ
ประยุกต์ความรู้และทักษะด้านการเกษตรได้อย่างเหมาะสม คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
(1) การมอบหมายให้นักศึกษานำเสนอผลการศึกษา
(2) ยกตัวอย่างประกอบ
(3) ทำแบบฝึกหัด
(4) เรียนรู้เพิ่มเติมจากการไว้ค้นคว้างานที่ได้รับมอบหมายที่ห้องสมุด
(5) ให้นักศึกษาได้แสดงความคิดเห็นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จากการซักถามเพื่อนที่มานำเสนอผล
การศึกษา
(1) การตอบสนอง (โต้ตอบ) ในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในกิจกรรมในชั้นเรียน
(2) ความสามารถในการ วิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม
(3) ทดสอบกลางภาค และปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์และการประยุกต์ความรู้ที่ศึกษา
- สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศและแนวคิดจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงานสอนและงานครูรวมทั้งการวินิจฉัยผู้เรียนและการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน (3.1) - สามารถสืบค้น คิดแก้ปัญหาใน การจัดการเรียนรู้ที่มีความสลับซับซ้อน เสนอทางออก และนำไปสู่การแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์ (3.2)
1. การทำงานเป็นกลุ่ม
2. การศึกษาจากกรณีศึกษา
3. การศึกษาด้วยตนเองและสะท้อนผลการเรียนรู้
4. การสอนที่เน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการคิดและการแก้ไขปัญหา ทั้งระดับบุคคลและกลุ่มในสถานการณ์ทั่วไปและสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหารายวิชา การศึกษาตัวอย่างจากวิดีทัศน์ การอภิปรายกลุ่ม การจัดทำรายงานกลุ่ม การถอดบทเรียน บันทึกการสังเกตในชั้นเรียน เป็นต้น
มีการประเมินหลากหลายวิธี เป็นการวัดและการประเมินทักษะการคิด และการแก้ไขปัญหา ดังนี้
1. การสอบวัดความสามารถในการคิดและแก้ไขปัญหา
2. การสังเกตพฤติกรรมการทำงานเดี่ยวและการทำงานกลุ่ม
3.การประเมินผลจากผลงานที่เกิดจากการใช้กระบวนการแก้ไขปัญหา การศึกษาค้นคว้าอย่างเป็น ระบบ การวิเคราะห์วิจารณ์เช่น รายงานการวิเคราะห์วิจารณ์กรณีศึกษา
4. รายงานผลการอภิปรายกลุ่ม การประชุมปรึกษาปัญหา
5. ประเมินผลจากการฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา แฟ้มสะสมงานและการทำโครงงาน
- สามารถแก้ปัญหาโจทย์ทางฟิสิกส์ระดับอุดมศึกษาได้
1.สอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยเปิดโอกาสให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้น
2.แนะนำและฝึกกระบวนการคิดอย่างสร้างสรรค์เมื่อเข้าศึกษาเริ่มจากโจทย์ที่ง่าย และเพิ่มความยากตามระดับชั้นเรียนที่สูงขึ้นในรายวิชาที่เหมาะสม
3.มอบหมายงานการแก้ปัญหาจากโจทย์ปัญหาหรือกรณีศึกษาหรือสถานการณ์จำลอง
4.เสริมสร้างพัฒนาการทางด้านเชาว์ปัญญาโดยให้ฝึกคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ความรู้ใหม่จากความรู้เดิมด้านต่างๆ
5.มีการสาธิตเกี่ยวกับเนื้อหาในวิชาฟิสิกส์เฉพาะทาง 1
1.ประเมินจากการมีส่วนร่วมอภิปรายละแสดงความคิดเห็น
2.ประเมินจากการแก้โจทย์ปัญหาหรือกรณีศึกษาหรือสถานการณ์จำลองที่ได้รับมอบหมาย
3.ประเมินโดยการสอบข้อเขียนด้วยโจทย์ที่ต้องการใช้ทักษะปัญญา
1. มีความสามารถในการคิด,วิเคราะห์,สังเคราะห์ เพื่อการจัดองค์ความรู้ (3.1)2. มีความคิดอย่างสร้างสรรค์เพื่อการแก้ไข ปรับปรุง และพัฒนางานทางเทคโนโลยี (3.2)
1. ฝึกการคิดอย่างเป็นระบบบนพื้นฐานความหลากหลายของเหตุและผล2. การแนะนำและฝึกให้นักศึกษานำหลักกระบวนการคิดทางเทคโนโลยีมาใช้อย่างสร้างสรรค์3. การมอบหมายงาน การแก้ปัญหาจากโจทย์ปัญหาและกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง4. ฝึกการปฏิบัติงานในโรงฝึกงาน โดยการมอบหมายงานที่มีการกำหนดเป็นใบงาน5. ฝึกการปฏิบัติงานภาคสนาม6. การฝึกประสบการณ์วิชาชีพในสถานประกอบการ
1. การประเมินผลงานการแก้ไขปัญหาที่ได้รับมอบหมาย2. ประเมินผลจากการสอบภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ3. การสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงาน4. แบบรายงานขั้นตอนการปฏิบัติงานโดยนักศึกษา5. แบบกำกับติดตามความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน6. แบบประเมินผลการปฏิบัติงานรายบุคคลและรายกลุ่ม7.แบบประเมินการฝึกประสบการณ์วิชาชีพจากอาจารย์นิเทศและหน่วยฝึกฯ
- มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปสู่การฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริง ตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม (3.4)
1. จัดกระบวนการเรียนการสอนที่ฝึกทักษะการคิด ทั้งในระดับบุคคลและกลุ่ม เช่น สะท้อนคิด อภิปรายกลุ่ม การทากรณีศึกษา การโต้วาที การจัดทาโครงการ การทดลองในห้องปฎิบัติการ ฯลฯ2. จัดกิจกรรมให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติงานจริง
1. การเขียนรายงานของนักศึกษา2. การนาเสนอผลงาน3. การใช้ข้อสอบหรือแบบฝึกหัดที่ให้นักศึกษาคิดแก้ปัญหา4. การใช้แบบทดสอบ/สัมภาษณ์ที่ให้นักศึกษาได้ฝึกคิดแก้ปัญหา
1. พัฒนาทักษะกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
2. พัฒนาทักษะการรวบรวมข้อมูล ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและข้อเสนอแนะที่เหมาะสม
1. การมอบหมายงานการแก้ปัญหาจากโจทย์ปัญหาและกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลองในประเด็นปัญหาจริงด้านการเกษตร
2. เน้นการสอนแบบผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่เปิดโอกาสให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้น
3. ยกตัวอย่างประกอบและให้นักศึกษาได้แสดงความคิดเห็นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จากการซักถามเพื่อนที่มานำเสนอผลการศึกษา
1. การมีส่วนร่วม และตอบคำถามในชั้นเรียน ความสามารถในการวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
2. ทดสอบกลางภาค และปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์และการประยุกต์ความรู้ที่ศึกษา
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้เการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างสร้างสรรค์
การมอบหมายให้นักศึกษาทำโครงงาน และนำเสนอผลการศึกษา
สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
- คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ (3.1)- สามารถสืบค้น วิเคราะห์ ประมวลและประเมินสารสนเทศเพื่อใช้แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ (3.2)
การสอนที่เน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการคิด วิเคราะห์ และการแก้ไขปัญหาทั้งระดับบุคคลและกลุ่มในสถานการณ์ทั่วไปและสถานการณ์ในชีวิตประจำวัน โดยใช้วิธีการสอนที่หลากหลาย เช่น บทบาทสมมติ การอภิปรายกลุ่ม การสะท้อนคิด การทำกรณีศึกษา การประชุม การโฆษณา การสัมมนา การโต้วาที การศึกษาอิสระ การจัดทำโครงการ การใช้เกมส์การเรียนรู้จากการแก้ปัญหา และการแก้ปัญหาโดยเน้นกระบวนทางวิทยาศาสตร์ เป็นต้น
1.การสอบวัดความสามารถในการคิดและการแก้ไขปัญหา โดยใช้กรณีศึกษา และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์2.การประเมินจากผลงานที่เกิดจากการใช้กระบวนการแก้ไขปัญหา การศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ การวิเคราะห์ และการวิจารณ์ เช่น รายงานผลการอภิปรายกลุ่ม กรณีศึกษา การศึกษาอิสระการประชุม การสัมมนา และการจัดทำโครงการ3.การสังเกตพฤติกรรมจากการแสดงบทบาทสมมติ การโต้วาที และการเล่นเกมส์
๓.๑.๑ ทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ
๓.๑.๒ ทักษะการสรุปความ
๓.๑.๓ ทักษะการศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง
๓.๒.๑ การทำงานเป็นกลุ่ม
๓.๒.๒ การศึกษาจากกรณีศึกษา
๓.๒.๓ การศึกษาด้วยตนเองและสะท้อนผลการเรียนรู้
๓.๒.๓ การนำเสนอผลงาน
๓.๓.๑ การสอบ
๓.๓.๒ การสังเกต
๓.๓.๓ การประเมินจากผลงาน
สามารถใช้ความรู้และทักษะที่ได้จากการเรียนไปประยุกต์ใช้เพื่อแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สามารถสืบค้น วิเคราะห์ ประมวลและประเมินสารสนเทศเพื่อใช้แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
- ให้อ่านบทความ,เนื้อเรื่องต่างๆ และทำความเข้าใจ แล้วตอบคำถามเป็นรายบุคคล คู่ และรายกลุ่ม
- ประยุกต์ใช้ความรู้ที่ได้จากบทเรียนมาใช้ในสถานการณ์จริง
- สอบปฏิบัติแต่ละบท สอบกลางภาค สอบปลายภาค
พัฒนาความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ คิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์สภาพสังคมไทย สังคมโลกเพื่อการดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมร่วมกับผู้อื่นได้ด้วยความเข้าใจและเกิดจิตสำนึกภาคภูมิใจในความเป็นไทย
3.2.1 มอบหมายงานให้นักศึกษาวิเคราะห์เรื่องต่าง ๆ อาทิ วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาสังคมวิเคราะห์วิสัยทัศน์และนำเสนองาน
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาคโดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์
3.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมาย การนำเสนองาน
3.3.3 สังเกตวิธีการแก้ไขปัญหา
- สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ (3.1)
- มีทักษะทางการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า ลักษณะของข้อมูล (3.2)
- วิเคราะห์และนำไปประยุกต์ในการปฏิบัติในการพูดเพื่อการประชาสัมพันธ์ประเภทต่าง ๆ (3.3)
1.การอภิปรายกลุ่ม
2.การบรรยายโดยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในอาชีพนิเทศศาสตร์
3.ฝึกทักษะภาคปฏิบัติ/แก้ไขปัญหาตามที่ได้รับการฝึกฝนตามเนื้อหาสาระสำคัญของการพูดเพื่อการประชาสัมพันธ์
3.ประเมินผลจากคุณภาพผลงานที่ได้รับมอบหมาย
4.ประเมินผลจากงานที่ให้ค้นคว้า
(1) พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธ์ภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
(2) พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
(3) พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตาม
กำหนดเวลา
(1) มอบหมายการทำงานแบบรายบุคคล และกลุ่มย่อยที่สลับหมุนเวียนสมาชิกกลุ่มและตำแหน่ง
(2) หน้าที่ในกลุ่มเพื่อเรียนรู้ กฎ กติกา มารยาท และบทบาทความรับผิดชอบของแต่ละคนในการเรียนรู้ร่วมกัน
(3) จัดกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา และให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น
(1) ประเมินจากความรับผิดชอบในการปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียนทั้งงานเดี่ยว และงานกลุ่ม
(2) รายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
(3) รายงานการศึกษาด้วยตนเอง
- มีความเอาใจใส่ รับผิดชอบในการทำงานร่วมกับผู้อื่น มีส่วนช่วยเหลือและเอื้อต่อการแก้ปัญหาความสัมพันธ์ในกลุ่มและระหว่างกลุ่มผู้เรียนอย่างสร้างสรรค์ (4.2)
1.ใช้การสอนที่เน้นการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้สอน ผู้เรียนกับบุคคลอื่นในชุมชน
2.จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีการทำงานเป็นทีมเพื่อส่งเสริมการแสดงบทบาทของการเป็นผู้นำและผู้ตาม
3.จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง
1. การสังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
2.การประเมินความพึงพอใจ ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้สอน ผู้เรียนกับบุคคลอื่นในชุมชน
3.การประเมินผลงาน/กิจกรรมที่นักศึกษาปฏิบัติ
- มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งรายบุคคลและงานกลุ่ม - สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและสมาชิกในกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ - สามารถวางแผนและรับผิดชอบการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
1.กำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม ซึ่งต้องแนะนำกฎ กติกา มารยาทบทบาทความรับผิดชอบของแต่ละคนในการเรียนร่วมกัน
2.การมอบหมายงานกลุ่มย่อยที่สลับหมุนเวียนสมาชิกกลุ่มและตำแหน่งหน้าที่ในกลุ่ม
3.ยกตัวอย่างผลกระทบอันเนื่องจากปัญหาการขาดมนุษยสัมพันธ์เป็นความรับผิดชอบที่มีต่อตนเองและสังคม
4.มีการสอนแบบปฏิบัติหรือการเรียนรู้ด้วยกระบวนการกลุ่ม
1.ประเมินจากพฤติกรรม และการแสดงออกของนักศึกษาในการทำงานกลุ่มในชั้นเรียน
2.สังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรม
- มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งรายบุคคลและงานกลุ่ม (4.1)
1. มอบหมายงานที่ต้องรับผิดชอบรายบุคคล2. มอบหมายงานกลุ่ม โดยให้มีการแบ่งการทำงานตามบทบาทหน้าที่ และมีการหมุนเวียนหน้าที่ตามความรับผิดชอบ3. แนะนำและสอดแทรกการแสดงออกของความเป็นผู้นำหรือผู้ตามที่เหมาะสมต่อสถานการณ์4. กำหนดกรณีศึกษา และ/หรือ สถานการณ์จำลองเพื่อการปรับตัวในการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
1. การประเมินผลจากเอกสารที่เกี่ยวข้องกับงานที่ได้รับมอบหมายทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม2. การประเมินผลจากชิ้นงานที่เกี่ยวข้องกับงานที่ได้รับมอบหมายทั้งรายบุคคลและรายกลุ่ม3. การประเมินผลการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ ในงานที่ได้รับมอบหมายรายกลุ่ม4. สังเกตพฤติกรรมการอยู่ร่วมกันในกลุ่มหมู่เรียนเดียวกันและต่างหมู่เรียน5. สังเกตพฤติกรรมความสัมพันธ์ต่อสังคมของนักศึกษา
1. พัฒนาทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
2. มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
1. เน้นการสอนแบบผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่เปิดโอกาสให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้น
2. ยกตัวอย่างประกอบและให้นักศึกษาได้แสดงความคิดเห็นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จากการซักถามเพื่อนที่มานำเสนอผลการศึกษา
1. มอบหมายนักศึกษาประเมินตนเองและเพื่อนในกลุ่ม สรุปการประเมินจากมติของกลุ่ม
2. สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน
นักศึกษาจะมีทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ตามข้อกำหนดในคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
- สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่การแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ของกลุ่มทั้งในบทบาทผู้นำหรือผู้ร่วมทีมงาน (4.2)- มีทักษะกระบวนการกลุ่มในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ (4.3)- มีทักษะในการสร้างเสริมความสามัคคีและจัดการความขัดแย้งในกลุ่มหรือองค์กรอย่างเหมาะสม (4.5)
1.กระบวนการจัดการเรียนการสอนโดยมีการมอบหมายการทำงานเป็นกลุ่ม เป็นทีม และมีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจน2.กิจกรรมที่ส่งเสริมด้าน การนำเสนอหรือการแสดงออกซึ่งทักษะกระบวนการแก้ปัญหาตามสถานการณ์3.สร้างทักษะการทำงานร่วมกันเพื่อความสามัคคีของกลุ่ม4.จัดการเรียนการสอนโดยใช้กรณีศึกษาเพื่อให้นักศึกษาได้พัฒนาตนเองและรับผิดชอบ ต่อสังคม5.จัดการเรียนการสอนโดยใช้บทบาทสมมติ
1.ประเมินผลการนำเสนองานกลุ่มเป็นระยะเพื่อติดตามผลความก้าวหน้าของงาน2.ประเมินการนำเสนอผลงานที่เป็นผลสัมฤทธิ์ของงาน3.จัดให้มีการประเมินตนเองและให้เพื่อนประเมินในการเข้าร่วมกิจกรรมหรือผลการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย4.มีการตรวจชิ้นงาน5.สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่มและความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
ทักษะการทำงานเป็นทีม การมีน้ำใจช่วยเหลือผู้อื่น และความรับผิดชอบต่อการส่งงาน
๔.๒.๑ การทำงานเป็นกลุ่ม
๔.๒.๒ การเสริมแรงสำหรับพฤติกรรมที่เหมาะสม
การสังเกต
เข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคล และมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้อย่างเหมาะสมกับบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ
- ศึกษาสถานการณ์ต่างๆ จากสื่อการเรียนการสอน เช่น วีดีทัศน์ หรือสื่อออนไลน์
- อภิปรายถึงความสำคัญของความรับผิดชอบและทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
- มอบหมายให้ทำงานร่วมกันเป็นคู่ และเป็นกลุ่ม โดยเน้นการประยุกต์ความรู้ที่ได้จากการเรียน
- ประเมินจากงานที่นำเสนอ
- ประเมินพฤติกรรมการทำงานร่วมกับผู้อื่น
4.1.1 พัฒนาทักษะความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำ หรือ สมาชิกของกลุ่ม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และรับผิดชอบงานที่รับมอบหมาย
4.2.1 การมอบหมายงานเป็นกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าเกี่ยวกับภูมิปัญญาในท้องถิ่นของตน
4.2.2 การอภิปรายด้านสภาพสังคมไทย และสังคมโลกในปัจจุบัน
4.3.1 ประเมินจากการนำเสนอ สังเกตพฤติกรรมการทำงานร่วมกันของผู้เรียน
- ทักษะการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนด้วยกัน (4.1)
- ทักษะความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม (4.2)
- ทักษะการเรียนด้วยตนเอง มีความรับผิดชอบ ในงานที่ได้รับมอบหมาย ครบถ้วนทันเวลา (4.3)
- ทักษะในการปฏิสัมพันธ์กับบุคคล สถานภาพในสังคมระดับต่าง ๆ (4.4)
- มอบหมายงานเป็นกลุ่มแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบภายในกลุ่มอย่างชัดเจน
- การร่วมกันวิเคราะห์องค์ประกอบ ปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อการเผยแพร่ข่าวสารการประชาสัมพันธ์ในชั้นเรียน
- จัดโครงการหรือกิจกรรมที่สนับสนุนให้นักศึกษามีการประสานงานกับบุคคลอื่นหรือหน่วยงานภายนอก
1.ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มตามที่ได้รับมอบหมาย
2.ประเมินตนเองและประเมินซึ่งกันและกัน
3.สังเกตพฤติกรรมในการเรียน
4.ใช้ผลการประเมินจากการฝึกงาน
5.การเก็บสะสมชั่วโมงการปฏิบัติงานนอกเหนือจากการเรียนในรายวิชา
(1) ทักษะการคิดคำนวณเชิงตัวเลข การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปและการวิเคราะห์ทางสถิติที่เกี่ยวข้อง
(2) พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
(3) พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
(4) ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
(1) มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ และทำรายงาน โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิงจากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้
(2) นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
(1) การจัดทำรายงานและนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
(2) การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีอภิปราย
- ทักษะการคิดคำนวณในการแก้โจทย์ปัญหา
- สรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูด เขียนในการทำและนำเสนอรายงาน
- ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อเรียนรู้เพิ่มเติมด้วยตนเองและการทำรายงาน
1. การเรียนรู้ด้วยตนเองในการแก้โจทย์ปัญหา
2. มอบหมายงานที่ต้องสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
3. นำเสนองานด้วยสื่อเทคโนโลยี
1.ประเมินทักษะการสื่อสารด้วยภาษาเขียนจากรายงานแต่ละบุคคลหรือรายงานกลุ่มในส่วนที่นักศึกษารับผิดชอบ
2.ประเมินทักษะการสื่อสารด้วยภาษาพูดจากการพัฒนาการการนำเสนองานในชั้นเรียน
3.ประเมินจากผลการสืบค้นโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
4.ประเมินจากผลงานกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อมอบหมายแต่ละบุคคล
- สามารถระบุเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์มาใช้ในการวิเคราะห์ แปลความหมาย และเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ (5.1)- สามารถสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (5.2)- มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สาหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี (5.4)
1. จัดการเรียนการสอนที่เน้นการฝึกทักษะการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน ในระหว่างผู้เรียน ผู้สอน และผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ2. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่หลากหลายและเหมาะสม3. จัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนนำเสนอผลงานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางคณิตศาสตร์และสถิติ
1. ทักษะการพูดในการนำเสนอผลงาน2. ทักษะการเขียนรายงาน3. ทักษะการนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ4. ความสามารถในการใช้ทักษะทางคณิตศาสตร์และสถิติเพื่ออธิบาย อภิปรายผลงานได้อย่างเหมาะสม5. เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาเชิงตัวเลข
1. พัฒนาทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นในการขยายพันธุ์พืชที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับพืชผัก
2. สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
1. มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะในการวิเคราะห์หรือคำนวณ เพื่อฝึกทักษะ โดยผู้สอนต้องแนะนำวิธีการ ติดตามตรวจสอบงาน และตรวจแก้พร้อมให้คำแนะนำ
2. มอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3. การให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล เรียบเรียงเป็นรายงาน และนำเสนอด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์
1. ประเมินจากผลงานกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่มอบหมาย
2. ประเมินจากการสอบข้อเขียนในการแก้โจทย์ปัญหาเชิงตัวเลข
3. ประเมินทักษะการสื่อสารด้วยภาษาเขียนจากรายงานแต่ละบุคคลหรือรายงานกลุ่ม
นอกจากทักษะดังกล่าวตามคุณสมบัติของหลักสูตรแล้ว รายวิชานี้ นักศึกษาจะมีทักษะอื่นๆ อีก เช่น
- สามารถประยุกต์ใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์และสถิติ ในการดำเนินชีวิตและปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม (5.1)- สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสารและนำเสนอข้อมูลข่าวสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ (5.3)
1. ฝึกแก้ปัญหา/โจทย์ หรือกรณีศึกษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน2. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะ การสื่อสารระหว่างบุคคลทั้งการพูด ฟัง และเขียนในกลุ่มผู้เรียน ระหว่างผู้เรียน และผู้สอน และบุคคลที่เกี่ยวข้องในสถานการณ์ที่หลากหลาย เช่น การนำเสนอ อภิปราย การเขียนรายงาน3. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เลือกและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่หลากหลายรูปแบบและวิธีการ เช่น การส่งเมล การค้นคว้า กรณีตัวอย่าง4. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้ความสามารถในการเลือกสารสนเทศและฝึกทักษะการนำเสนอข้อสนเทศด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับผู้ฟังและเนื้อหาที่นำเสนอ เช่น การค้นคว้าและนำเสนอ
1.ทดสอบการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ข้อสอบ การทำรายงาน และการวิเคราะห์ข้อมูลผลการศึกษาวิจัย และการศึกษาอิสระ2.ทดสอบทักษะการฟังจากแบบทดสอบที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การเรียนรู้3.ประเมินผลงานตามกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้แบบสังเกต แบบประเมินทักษะการพูด และการเขียน
- มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อ สื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ (5.3)
1.จัดให้มีการแสดงบทบาทสมมติเพื่อการสื่อสารภาษา อังกฤษและภาษาต่างประเทศอื่นๆในสถานการณ์ต่าง ๆ
2. จัดห้องปฏิบัติการ ฝึกให้ใช้ซอฟต์แวร์ทางการท่องเที่ยวและโรงแรม หรือสายการบิน ฯลฯ
3. ฝึกให้นำเสนอผลงานที่ค้นคว้าด้วยตนเองในห้องเรียน
4. บูรณาการการใช้คอมพิวเตอร์เครือข่าย และซอฟต์แวร์หรือสื่อต่าง ๆ ในทุกรายวิชาที่สามารถทำได้
1.ประเมินผลโดยการสอบข้อเขียน
2. ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน
3. ประเมินผลจากการใช้คอมพิวเตอร์
4. ประเมินผลจากการสรุปหัวข้อที่มอบหมายให้ค้นคว้า
5.การประเมินตนเองด้านทักษะการวิเคราะห์สื่อสารและการใช้เทคโนโลยีของนักศึกษา
ทักษะการนำเสนอทั้งกลุ่มใหญ่และกลุ่มย่อย และทักษะการใช้เทคโนโลยีประกอบการนำเสนอผลงาทักษะการนำเสนอทั้งกลุ่มใหญ่และกลุ่มย่อย และทักษะการใช้เทคโนโลยีประกอบการนำเสนอผลงาน
มอบหมายงานให้ศึกษาด้วยตนเองตามประเด็นที่มอบหมาย แล้วกำหนดให้มีการนำเสนอผลงานต่อสมาชิกในห้องเรียน ทั้งการนำเสนอเป็นกลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่ และให้ นักศึกษาพัฒนารูปแบบการนำเสนอโดยการใช้สื่อที่เหมาะสม
การสังเกตพฤติกรรมการนำเสนอผลงาน
สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับสถานการณ์ต่างๆ และสามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสารและนำเสนอข้อมูลข่าวสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ฝึกการค้นคว้าหาข้อมูลโดยใช้สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
5.1.1 ทักษะเชิงตัวเลข โดยการนำตัวเลข สถิติต่าง ๆ มาใช้ประกอบให้สอดคล้องกับการเรียนเรื่องต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
5.1.2 พัฒนาทักษะด้านการสื่อสารทั้งการฟัง การพูด การแปล การเขียนโดยการทำรายงานและการนำเสนอหน้าชั้น
5.1.3 พัฒนาทักษะด้านการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
5.1.4 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้เทคโนโลยี
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ ทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข สถิติมาอ้างอิงจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยใช้เทคโนโลยี
5.3.1 ประเมินจากรายงาน การนำเสนอด้วยเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการอภิปราย
- พัฒนาทักษะความรู้ ความสามารถในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูด การเขียน การอ่าน การตีความ และมีการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
- พัฒนาทักษะในการเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนอที่สอดคล้องกับบริบทต่าง ๆ และสามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม
- ให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองทางสื่อต่าง ๆ แล้ววิเคราะห์พร้อมกับนำเสนอ ทั้งแบบบรรยาย การยกตัวอย่างกรณีศึกษา เชื่อมโยงกับเนื้อหาของวิชา พร้อมกับบอกแหล่งอ้างอิง
- นำเสนอผลการศึกษาข้อมูล พร้อมการวิเคราะห์และนำเสนอในรูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม
- กำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่มและรายบุคคล นำเสนอผลงาน จัดทำรายงานส่งทั้งเป็นเล่มและใช้เทคโนโลยีสื่อสารอย่างอื่น (E-mail) หรือรูปแบบการนำเสนอลักษณะอื่น เช่น VCD
- ประเมินจากการนำเสนอผลงานในรูปของเทคโนโลยี
- ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปราย หลังจากฟังการนำเสนอผลการศึกษา
- นำเสนอผลการทำงานในรายงาน หรือรูปแบบอื่นๆ และตอบข้อซักถามของอาจารย์
- ชี้แจงรายละเอียดแนวทางการเรียนการสอน เกณฑ์การประเมินผล
- ประวัติความเป็นมาของการเพาะเห็ด
- ความสำคัญและประโยชน์ของเห็ด
บรรยาย อภิปรายกลุ่ม
อ.จิราพร โพธิ์งาม
ชี้แจงการเรียนการสอน
- กำหนดข้อตกลงการเรียนการสอน
- สนทนา
- สอนโดยการบรรยาย
- ฝึกแก้โจทย์ปัญหา
- อภิปราย สรุปประเด็นปัญหาต่างๆ
ดร. ปกรณ์ ประจวบวัน
ปฐมนิเทศ แนะนำรายวิชา และชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับการเรียนและการประเมินผลวิชาการประดิษฐ์เซรามิกส์
บรรยายและถาม-ตอบ เกี่ยวกับความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์เซรามิกส์และกระบวนการผลิต โดยใช้ตัวอย่างผลิตภัณฑ์, PowerPoint VDO และให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัด
ผศ.แสงโสม จิตต์วารี
· ความหมายของระบบฐานข้อมูล
· ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
· หลักการออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
· แนะนำ MySQL ติดตั้ง และใช้งาน MySQL และ Appserve
· การ Start และ Shutdown service ของ Mysql
การใช้งาน MySQL Command Line Client
-บรรยาย
-ฝึกปฏิบัติตามใบงาน
อ.สุภาพ เทนอิสสระ
บทที่1
ทดสอบก่อนเรียน Pretest
Over view ปรับความรู้ด้านการบริการ กำหนดข้อตกลงเรื่องพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักศึกษา
- บรรยายโดยอาจารย์
ผู้สอน-pretest
-นำเสนอความรู้พื้นฐาน
เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ของนักศึกษา
-แนะนำตนเองเพื่อปรับ
ความรู้พื้นฐาน
อ.ศรเพชร ยิ่งมี
บทที่ 1. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
1.1 ความหมายและความสำคัญของมนุษย์
1.2 มนุษย์กับความเป็นมา
1.3 กลุ่มชาติพันธ์และความหลากหลาย
1.4 สิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตมนุษย์
1.การบรรยาย
2.การอภิปรายแบบมีส่วนร่วม
3. การศึกษาสภาพแวดล้อมรอบๆตัว
4.การศึกษาจากสื่อ-อุปกรณ์ประกอบการเรียน
5.การจัดทำโครงการสิ่งแวดล้อมหรือวัฒนธรรมชุมชน
อาจารย์ณรงค์ศักดิ์ พิทักษ์ตันสกุล
-ปฐมนิเทศรายวิชา
-รับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่าง ๆ เช่น วิธีการเรียน ชิ้นงานที่ต้องทำ การประเมินผล ฯลฯ
-แนะนำวิธีการเรียนและวิธีการจัดการเรียนการสอน
บทที่ ๑ ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์
๑.๑ ความเป็นมนุษย์
๑.๒ องค์ประกอบของความเป็นมนุษย์
๑.๓ จิตและกระบวนการทำงานของจิต
๑.๓ ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของความเป็นมนุษย์
(กาย และ จิต)
-อภิปรายกลุ่มย่อยและนำเสนอผลการอภิปรายกลุ่มย่อย
ดร.รังรอง งามศิริ
Unit 1 Student life
Reading skills
- Way of reading : reading methods
Writing skills
- Punctuation
- Linking ideas
- Checking your writing
- Writing about people
Vocabulary development
- Parts of speech
- A dictionary entry
- Recording vocabulary
- Focus student’s attention on the heading How do you read? and discuss their answers with the class.
- Students read and discuss the articles in the group.
- Give students time to complete the exercises. Check the answers with the class.
- Students learn how to use capital letters, full stop and question marks in sentences.
- Ask them to rewrite the sentences by adding capital letters.
- Students learn how to use ‘and’ and ‘but’ to join sentences.
- Do the exercises and check answers together.
- Students identify the part of speech of each word.
อ. สุภาภรณ์ ต้นไกร
แนะนำวิธีการเรียนและแจกแนวการสอน
- เรียนรู้ท้องถิ่นเปิดโลกกาญจนบุรี
1. ผู้สอนแนะนำการเรียนและการวัดผล วิธีการเรียน
2. ผู้สอนบรรยายข้อมูลและเรื่องราวของจังหวัดกายจนบุรี
3. สื่อ : แผนที่ CD โปรแกรมนำเสนอด้วย Power Point
ผศ.ดร.ณรัชช์อร ศรีทอง
อ.ภาวิตา ชวนขยัน
อ.ภัคธร ชาญฤทธิเสน
อ.นพรัตน์ ไชยชนะ
ปฐมนิเทศรายวิชา
- ทำความเข้าใจวิธีการเรียนการสอนและการประเมินผล
- ทดสอบความรู้ก่อนเรียน
- ปฐมนิเทศ
- บรรยายประกอบสื่อ
- ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียน
- ซักถามและตอบคำถาม
รศ.ติกาหลัง สุขกุล
- สถานการณ์การผลิตเห็ด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์เซรามิกส์และกระบวนการผลิต
· ประเภทของข้อมูลในฐานข้อมูล SQL
· Storage Engine
· การสร้างฐานข้อมูล และตาราง
· การลบฐานข้อมูล และตาราง
· การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างตาราง
-ทำแบบฝึกหัด
- การเข้าชั้นเรียน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
-สอบกลางภาค
การร่วมกิจกรรม การศึกษาค้นคว้า ทำแบบฝึกหัด และการส่งงานตรงต่อเวลา
- แบบทดสอบปฏิบัติการ
- สอบกลางภาค
- สอบปลายภาค
สอบ
ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ และทักษะทางปัญญา
วิธีการประเมิน การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค
สอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
สอบกลางภาค
สอบปฏิบัติเก็บคะแนนย่อยสอบกลางภาคและปลายภาค
-ทดสอบกลางภาค
-ทดสอบปลายภาค
-ทดสอบย่อย
-การทดสอบกลางภาค
-การทดสอบปลายภาคการศึกษา
-สอบปลายภาค
ผลงานการประดิษฐ์ของชำร่วย
- ประเมินโครงงานตามสภาพจริง
- เพื่อนประเมินเพื่อน
การเข้าชั้นเรียน
ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ และทักษะการวิเคราะห์ การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
วิธีการประเมิน นำเสนอรายงาน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน
1.ปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2.ปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรที่สอดคล้องกับท้องถิ่น
ค้นคว้า
การนำเสนอรายงาน
การทำงานกลุ่ม
การสรุปจากการดูซีดี
การส่งรายงานที่มอบหมาย
-ตรวจผลงานศึกษาค้นคว้า
-การนำเสนอ
วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้าแล้วนำเสนอการทำงานทั้งรายกลุ่มและรายบุคคล การอภิปรายกลุ่ม
สอบปลายภาค
-การทดสอบย่อย
-การเข้าชั้นเรียนและการเคารพกฎระเบียบ ข้อตกลง
ผลงานการประดิษฐ์ของที่ระลึก
การมีส่วนร่วมอภิปราย แสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน
ผลการเรียนรู้ ด้านความรับผิดชอบ
วิธีการประเมิน การเข้าชั้นเรียน วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า
การส่งแบบฝึกหัด การส่งงานตามกำหนดเวลาที่ได้รับมอบหมาย
นำเสนองานกลุ่ม
การเข้าชั้นเรียน ความประพฤติ และการแต่งกาย
-ประเมินจากการมีส่วนร่วมกิจกรรมกลุ่มในชั้นเรียน
-ประเมินความรับผิดชอบ ความตรงต่อเวลา และกิจกรรมที่
มอบหมาย