1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
การมีนิสัยการเรียนที่เหมาะสม และการมีพฤติกรรมที่เหมาะสมและเป็นไปตามอัตลักษณ์ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี คือ “ประพฤติดี มีจิตอาสา” ดังนี้
1.1.1 ตรงต่อเวลา
1.1.2 แต่งกายตามระเบียบของมหาวิทยาลัย (สำหรับนักศึกษาภาคปกติ) หรือมีการแต่งกายเรียบร้อย (สำหรับนักศึกษาภาคพิเศษ)
1.1.3 มีจิตอาสา มีน้ำใจเอื้อเฟื่อเผื่อแผ่ และช่วยเหลือผู้อื่น
1.1.4 ปฏิบัติหน้าที่ของการเป็นนักศึกษาที่ดี เช่น การให้ความเคารพอาจารย์ การทักทายทำความเคารพอาจารย์นอกชั้นเรียน การช่วยงานของสาขาวิชา คณะ มหาวิทยาลัย และชุมชน
1.1.5 รับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น
1.1.6 มีมารยาทในชั้นเรียน เช่น การไม่คุยในชั้นเรียน การไม่ใช้โทรศัพท์ในชั้นเรียน ไม่ออกจากชั้นเรียนในขณะสอนบ่อยครั้ง
2.1 การสอนสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมกับในเนื้อหารายวิชา
2.2 การมอบหมายงานกลุ่ม
2.3 การกำหนดให้นักศึกษาเข้าชั้นเรียนตรงเวลา การแต่งกายให้เป็นตามระเบียบของมหาวิทยาลัย และต้องมีมารยาทในชั้นเรียน
2.4 การเป็นแบบอย่างที่ดีของอาจารย์
2.5 การใช้การปรับพฤติกรรม เสริมแรงพฤติกรรมที่เหมาะสม และลงโทษพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
2.6 การศึกษาดูงานหรือกิจกรรมนอกห้องเรียน
การสังเกตพฤติกรรมในการเรียนและการทำงานในชั้นเรียน
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิข้อมูลส่วนบุคคล
(1) ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
(2) มีวินัย ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
(3) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไข้ข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
(4) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
(1) สอดแทรกระหว่างการเรียนการสอนในทุกครั้ง
(2) การแสดงความคิดเห็นในเรื่องความมีวินัย ใฝ่รู้ ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ และความมีน้ำใจ
(3) การปฏิบัติตนอันเป็นแบบอย่างที่ดีของอาจารย์ผู้สอน
(1) ประเมินจากพฤติกรรมในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียน
พัฒนาผู้เรียนให้มีวินัย ตรงต่อเวลา เสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ และสังคม รวมทั้งประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่นทั้งทางกาย วาจา และใจ
- สอนโดยสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม และการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
- สอนโดยใช้วิธีการแก้ปัญหา (Problem-based Learning)
- มอบหมายงานกลุ่ม เพื่อให้นักศึกษามีความรับผิดชอบ
- สังเกตและตรวจสอบจากพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน
- สังเกตและประเมินพฤติกรรมของนักศึกษาในการเรียนและการเข้าร่วมกิจกรรม
- ตระหนักในคุณค่า รู้และเข้าใจหลักคุณธรรมจริยธรรมที่สำคัญต่อการดำรงตนและการปฏิบัติงาน
- มีวินัย ตรงต่อเวลา เสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
- เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่นทั้งทางกาย วาจา และใจ
- ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
- บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้ โดยมีวัตถุประสงค์ไม่สุจริต หรือจากมิจฉาชีพ การป้องกันตนเอง
- อภิปรายกลุ่ม
- กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง
- บทบาทสมมติ
- พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
- มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- การมีส่วนร่วมในการเรียน การทำงานกลุ่มและความมีสัมมาคารวะต่ออาจารย์
- มีวินัย ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม รวมถึงมีจิตอาสาพัฒนาท้องถิ่น (1.1)
- มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ (1.2)
- เคารพกฎระเบียบ กติกา และข้อบังคับต่าง ๆ ของสถาบัน องค์กรและสังคม (1.3)
- มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมได้ (1.4)
1.กระบวนการเรียนการสอนโดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และซื่อสัตย์สุจริต โดยสอดแทรกในรายวิชาของหลักสูตร
2.สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน
3.การบรรยายพิเศษโดยผู้มีประสบการณ์ หรือนักวิชาการด้านนิเทศศาสตร์
4.การแสดงออกอันเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้สอน และการสร้างวัฒนธรรมองค์กรเพื่อปลูกจิตสำนึกขั้นพื้นฐานให้กับนักศึกษาในการรักษาระเบียบวินัยของมหาวิทยาลัย การมีส่วนร่วมในการพัฒนาคณะ มหาวิทยาลัยและชุมชน การตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบในหน้าที่ และความซื่อสัตย์สุจริต
1.ประเมินพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันกับผู้สอน
2.จัดให้มีการประเมินผลงานของตนเอง และการทำงานเป็นกลุ่ม ในการทำกิจกรรมหรือผลงานตามที่ได้รับมอบหมาย
3.กำหนดหัวข้อทางคุณธรรม จริยธรรมในกิจกรรมการเรียนการสอน และการจัดทำผลงานด้านนิเทศศาสตร์อย่างสร้างสรรค์
4.จำนวนครั้งในการเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม อย่างสร้างสรรค์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ตลอดหลักสูตร
5.จำนวนกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการพัฒนาท้องถิ่น
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา มีวินัยในชั้นเรียน การแต่งกายสุภาพเรียบร้อย เหมาะสมกับกาลเทศะ สามารถปรับตัวอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข มีจิตสำนึกในการรักษาความเป็นไทย และมีจิตสำนึกในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข
- ตระหนักในคุณค่า รู้และเข้าใจหลักคุณธรรมจริยธรรมที่สำคัญต่อการดำรงตนและการปฏิบัติงาน (1.1)- มีวินัย ตรงต่อเวลา เสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม (1.2)
1.ให้ความสำคัญในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับของมหาวิทยาลัยและสังคม เช่น การเข้าเรียน การส่งงาน และการแต่งกาย2.เปิดโอกาสให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อคณะ มหาวิทยาลัย ชุมชน และสังคม3.บูรณาการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม การดำรงตนกับเนื้อหากิจกรรมในบทเรียน4.ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ5.เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย6.ใช้กรณีศึกษาและการอภิปรายเพื่อสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม7.ผู้สอนประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
1. ให้คะแนนการปฏิบัติตามระเบียบการเข้าเรียน การส่งงานและการแต่งกาย2. สร้างแบบประเมินการเข้าร่วมกิจกรรม3. สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ4. ประเมินจากแบบทดสอบ5. ใช้การสัมภาษณ์และบันทึกผลการสัมภาษณ์6. สร้างแบบบันทึกความดี7. ประเมินพฤติกรรมผู้เรียนจากบุคคลที่หลากหลาย
- ตระหนักในคุณค่า รู้และเข้าใจหลักคุณธรรมจริยธรรมที่สำคัญต่อการดำรงตนและการปฏิบัติงาน (1.1)- มีวินัย ตรงต่อเวลา เสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม (1.2)- เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ (1.3)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟต์แวร์ และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีความซื่อสัตย์ในการสื่อสารข้อมูลและใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรมจริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
มีความรู้ความเข้าใจเรื่องประวัติความเป็นมาของการเพาะเห็ด การจำแนกเห็ดราและชนิดของเห็ด ประโยชน์และความ สำคัญของเห็ด สภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการเพาะเห็ด วิธีการเพาะเลี้ยงเชื้อเห็ด ศัตรูเห็ดและการดูแลรักษา การเก็บดอกเห็ด ปัญหาที่พบในการเพาะเห็ด เห็ดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจของไทย เห็ดพิษ การถนอมและการแปรรูปผลิตภัณฑ์เห็ด
(1) วิธีการสอนแบบบรรยาย
(2) วิธีการสอนแบบอภิปราย
(3) วิธีการสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
(4) วิธีการสอนแบบทดลองปฏิบัติการ
(5) การทำรายงานกลุ่มและรายงานเดี่ยว
(6) การค้นคว้าด้วยตนเอง
(1) ประเมินผลจากการเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
(2) การอภิปรายในห้องเรียน หรือกิจกรรม การให้ความร่วมมือกับสมาชิกในชั้นเรียน
(3) การค้นคว้า การทำรายงานและการนำเสนอรายงาน
(4) การทดสอบกลางภาค ทดสอบปลายภาค
ความรอบรู้ รู้เท่าทันสถานการณ์ความเปลี่ยนแปลง ทั้งในระดับท้องถิ่น ชาติ และนานาชาติ ทางด้าน ข่าวสาร เหตุการณ์ปัจจุบัน ความบันเทิง ประเพณีวัฒนธรรม สถานที่ท่องเที่ยวในภูมิภาคตะวันตก และปัญหาสิ่งแวดล้อม รวมทั้งนำเสนอแนวทางในการแก้ปัญหา
- บรรยาย อธิบาย ยกตัวอย่าง
- ฝึกอ่านบทอ่านที่หลากหลายเป็นรายบุคคล คู่ และกลุ่ม และตอบคำถาม
- ฝึกอ่านบทความแล้วทำกิจกรรมที่กำหนด
- ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
- สอบปฏิบัติ
- สังเกตจากพฤติกรรมการมีส่วนร่วม
- สอบย่อยประจำบท สอบกลางภาค และปลายภาค
- ประเมินจากงานที่มอบหมาย
มีความรู้ความใจเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์และการพัฒนาตนมีความจำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตของตน การอยู่ร่วมกับผู้อื่น สังคมและประเทศชาติอย่างสันติสุข
๒.๒.๑ การบรรยาย
๒.๒.๒ การศึกษาด้วยตนเองและสะท้อนผลการเรียนรู้
๒.๒.๓ การวิเคราะห์จากกรณีศึกษา
๒.๒.๔ การแสดงบทบาทสมมุติ
๒.๒.๕ การอภิปรายกลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่
๒.๒.๖ การระดมสมอง
๒.๒.๗ การประเมินตนเอง
๒.๒.๘ การศึกษานอกสถานที่หรือกิจกรรมนอกห้องเรียน
๒.๒.๙ การฝึกปฏิบัติและสะท้อนผลการฝึกปฏิบัติ
๒.๓.๑ การทดสอบ
๒.๓.๒ การประเมินจากผลงาน
๒.๓.๓ การสังเกตพฤติกรรม
- มีความรู้และความเข้าใจสาระสำคัญของหลักการและทฤษฎีที่เป็นพื้นฐานชีวิตใน เนื้อหาวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป
- มีความรอบรู้ ความก้าวหน้าทางวิชาการในวิชาที่ศึกษา รวมทั้งเข้าใจหลักการประยุกต์ใช้แก้ปัญหาต่าง ๆ
- สามารถบูรณาการความรู้ในวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
-รู้เท่าทันสถานการณ์ความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และนานาชาติ
- บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง
- สอบกลางภาค ปลายภาค การสอบย่อย
- ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
- ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
- มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและวิธีการพูดในแต่ละประเภทได้ถูกต้อง (2.1)- มีทักษะหรือความสามารถพิเศษที่เกี่ยวข้องกับงานด้านการพูดเพื่อการประชาสัมพันธ์ เช่น การกล่าวสุนทรพจน์ การสัมภาษณ์ (2.2)
1.การบรรยายในชั้นเรียน
2.การทำรายงานเดี่ยว/กลุ่ม
3.การอภิปรายกลุ่ม
4.การอบรมเพิ่มทักษะด้านการพูดเพื่อการประชาสัมพันธ์
5.การศึกษาดูงานนอกสถานที่
6.การจัดโครงการจากการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
7.การจัดโครงการพิเศษ/ให้บริการวิชาการแก่ท้องถิ่น
1.ทดสอบทฤษฎีและปฏิบัติในการสอบย่อยและให้คะแนน
2.ทดสอบในการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
3.ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
4.ประเมินผลจากรายงานที่ให้ค้นคว้า
5.จำนวนครั้งในการเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรมอย่างสร้างสรรค์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ตลอดหลักสูตร
6.จำนวนโครงการพิเศษ/การให้บริการวิชาการแก่ท้องถิ่นอย่างน้อย 1 โครงการในแต่ละปีการศึกษา
มีความรู้เกี่ยวกับความเป็นมาของไทย ลักษณะพื้นฐานของสังคมและวัฒนธรรมไทย พหุวัฒนธรรมและ ชาติพันธุ์ในสังคมไทย พัฒนาการทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองไทย ภูมิปัญญาไทยและการปรับตัวของสังคมไทยให้เหมาะสมกับสถานการณ์โลกปัจจุบัน
- มีความรู้และความเข้าใจสาระสำคัญของหลักการและทฤษฎีที่เป็นพื้นฐานชีวิต และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปบูรณาการกับศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (2.1)
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การมอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง แล้วนำมาสรุป นำเสนอ เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
1.การบรรยายและอภิปรายในชั้นเรียน2.จัดกิจกรรมแก้ปัญหาเพื่อสร้างสถานการณ์จำลอง เพื่อนำความรู้ไปบูรณาการ3.มอบหมายหัวข้อเรื่องให้ค้นคว้าและทำรายงานทั้งเดี่ยวและกลุ่ม เพื่อนำเสนอในชั้นเรียน4.ค้นคว้าวิเคราะห์และเรียนรู้จากการทำกรณีศึกษา เพื่อนำความรู้ทางทฤษฎีมาประยุกต์ใช้5.ศึกษาดูงานนอกสถานที่6.เรียนรู้จากสถานการณ์จริง สถานที่จริง แล้วนำผลมาอภิปรายสรุป เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ในชั้นเรียน7.ใช้การสืบค้นข้อมูลจาก เทคโนโลยีสารสนเทศ สื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ เพื่อการเรียนรู้ในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และนานาชาติ8.การนำเสนอที่ผู้เรียนสนใจเพื่อการเรียนรู้ของกลุ่ม
1.ใช้ข้อสอบวัดความรู้ในทางทฤษฎีทั้งกลางภาคและปลายภาค2.ประเมินผลจากงานที่ได้รับมอบหมาย และการนำเสนอหน้าชั้นเรียน3.ประเมินผลจากพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการเรียน4.ประเมินจากรายงาน การศึกษา ดูงาน
- มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและสาขาวิชาการโรงแรม ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก (2.1)- มีความรู้ในกระบวนการและเทคนิคการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ในงานอาชีพ (2.3)
1. มีวิธีการสอนอย่างหลากหลาย โดยเน้นการเรียนแบบให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม
2. การเรียนรู้โดยแต่ละรายวิชามีจุด เน้นที่องค์ความรู้ทางด้านเทคโนโลยี การสื่อสารมวลชน หลักการทฤษฎีและการฝึกปฏิบัติจริง
3. ให้มีการเรียนรู้โดยการฝึกทบทวนและปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นทั้งในสถานการณ์จำลองและสถานการณ์จริง
4. มอบหมายงานให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติและเรียนรู้ด้วยตนเองทำการศึกษาค้นคว้า คิดอย่างมีระบบ รู้จักสังเกต และนำองค์ความรู้ที่ได้เรียนมาสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพแล้วนำเสนอและอภิปรายได้
1. ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
2.ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน
3.ประเมินจากรายงานที่ให้ค้นคว้า
4.ประเมินโดยการฝึกปฏิบัติในสถานการณ์จำลอง
5. การประเมินตนเองด้านความรู้ของนักศึกษา
- มีความรู้และความเข้าใจสาระสำคัญของหลักการและทฤษฎีที่เป็นพื้นฐานชีวิต และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปบูรณาการกับศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง (2.1)- มีความรอบรู้ กว้างไกล และติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการในวิชาที่ศึกษา รวมทั้งเข้าใจหลักการและประยุกต์ใช้เพื่อแก้ไขปัญหา ต่าง ๆ (2.2)
มีความรู้ในการทำงานของสถาปัตยกรรมและองค์ประกอบของระบบเครือข่ายสื่อสารทางคอมพิวเตอร์ แนวคิดและมาตรฐานของโปรโตคอล ต้นแบบ OSI และอินเตอร์เน็ตที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล ระบบเครือข่ายท้องถิ่น การเชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายและเกตเวย์ การทางานของเน็ตเวิร์กและทรานสปอร์ตเลเยอร์ ตัวเชื่อมต่อการสื่อสารข้อมูล การควบคุมการโยงข้อมูล การส่งหลายสัญญาณพร้อมกัน
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้
ค้นคว้าหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงาน
Problem base learning และ Student Center เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ความสามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ สามารถ
ประยุกต์ความรู้และทักษะด้านการเกษตรได้อย่างเหมาะสม คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
(1) การมอบหมายให้นักศึกษานำเสนอผลการศึกษา
(2) ยกตัวอย่างประกอบ
(3) ทำแบบฝึกหัด
(4) เรียนรู้เพิ่มเติมจากการไว้ค้นคว้างานที่ได้รับมอบหมายที่ห้องสมุด
(5) ให้นักศึกษาได้แสดงความคิดเห็นแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จากการซักถามเพื่อนที่มานำเสนอผล
การศึกษา
(1) การตอบสนอง (โต้ตอบ) ในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในกิจกรรมในชั้นเรียน
(2) ความสามารถในการ วิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม
(3) ทดสอบกลางภาค และปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์และการประยุกต์ความรู้ที่ศึกษา
สามารถใช้ความรู้และทักษะที่ได้จากการเรียนไปประยุกต์ใช้เพื่อแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สามารถสืบค้น วิเคราะห์ ประมวลและประเมินสารสนเทศเพื่อใช้แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
- ให้อ่านบทความ,เนื้อเรื่องต่างๆ และทำความเข้าใจ แล้วตอบคำถามเป็นรายบุคคล คู่ และรายกลุ่ม
- ประยุกต์ใช้ความรู้ที่ได้จากบทเรียนมาใช้ในสถานการณ์จริง
- สอบปฏิบัติแต่ละบท สอบกลางภาค สอบปลายภาค
๓.๑.๑ ทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ
๓.๑.๒ ทักษะการสรุปความ
๓.๑.๓ ทักษะการศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง
๓.๒.๑ การทำงานเป็นกลุ่ม
๓.๒.๒ การศึกษาจากกรณีศึกษา
๓.๒.๓ การศึกษาด้วยตนเองและสะท้อนผลการเรียนรู้
๓.๒.๓ การนำเสนอผลงาน
๓.๓.๑ การสอบ
๓.๓.๒ การสังเกต
๓.๓.๓ การประเมินจากผลงาน
- สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ (3.1)
- มีทักษะทางการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า ลักษณะของข้อมูล (3.2)
- วิเคราะห์และนำไปประยุกต์ในการปฏิบัติในการพูดเพื่อการประชาสัมพันธ์ประเภทต่าง ๆ (3.3)
1.การอภิปรายกลุ่ม
2.การบรรยายโดยผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จในอาชีพนิเทศศาสตร์
3.ฝึกทักษะภาคปฏิบัติ/แก้ไขปัญหาตามที่ได้รับการฝึกฝนตามเนื้อหาสาระสำคัญของการพูดเพื่อการประชาสัมพันธ์
3.ประเมินผลจากคุณภาพผลงานที่ได้รับมอบหมาย
4.ประเมินผลจากงานที่ให้ค้นคว้า
พัฒนาความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ คิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์สภาพสังคมไทย สังคมโลกเพื่อการดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมร่วมกับผู้อื่นได้ด้วยความเข้าใจและเกิดจิตสำนึกภาคภูมิใจในความเป็นไทย
3.2.1 มอบหมายงานให้นักศึกษาวิเคราะห์เรื่องต่าง ๆ อาทิ วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาสังคมวิเคราะห์วิสัยทัศน์และนำเสนองาน
3.2.2 อภิปรายกลุ่ม
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาคโดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์
3.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมาย การนำเสนองาน
3.3.3 สังเกตวิธีการแก้ไขปัญหา
- คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ (3.1)- สามารถสืบค้น วิเคราะห์ ประมวลและประเมินสารสนเทศเพื่อใช้แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ (3.2)
การสอนที่เน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการคิด วิเคราะห์ และการแก้ไขปัญหาทั้งระดับบุคคลและกลุ่มในสถานการณ์ทั่วไปและสถานการณ์ในชีวิตประจำวัน โดยใช้วิธีการสอนที่หลากหลาย เช่น บทบาทสมมติ การอภิปรายกลุ่ม การสะท้อนคิด การทำกรณีศึกษา การประชุม การโฆษณา การสัมมนา การโต้วาที การศึกษาอิสระ การจัดทำโครงการ การใช้เกมส์การเรียนรู้จากการแก้ปัญหา และการแก้ปัญหาโดยเน้นกระบวนทางวิทยาศาสตร์ เป็นต้น
1.การสอบวัดความสามารถในการคิดและการแก้ไขปัญหา โดยใช้กรณีศึกษา และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์2.การประเมินจากผลงานที่เกิดจากการใช้กระบวนการแก้ไขปัญหา การศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ การวิเคราะห์ และการวิจารณ์ เช่น รายงานผลการอภิปรายกลุ่ม กรณีศึกษา การศึกษาอิสระการประชุม การสัมมนา และการจัดทำโครงการ3.การสังเกตพฤติกรรมจากการแสดงบทบาทสมมติ การโต้วาที และการเล่นเกมส์
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้เการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างสร้างสรรค์
การมอบหมายให้นักศึกษาทำโครงงาน และนำเสนอผลการศึกษา
สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
(1) พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธ์ภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
(2) พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
(3) พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตาม
กำหนดเวลา
(1) มอบหมายการทำงานแบบรายบุคคล และกลุ่มย่อยที่สลับหมุนเวียนสมาชิกกลุ่มและตำแหน่ง
(2) หน้าที่ในกลุ่มเพื่อเรียนรู้ กฎ กติกา มารยาท และบทบาทความรับผิดชอบของแต่ละคนในการเรียนรู้ร่วมกัน
(3) จัดกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา และให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น
(1) ประเมินจากความรับผิดชอบในการปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียนทั้งงานเดี่ยว และงานกลุ่ม
(2) รายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
(3) รายงานการศึกษาด้วยตนเอง
เข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคล และมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้อย่างเหมาะสมกับบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ
- ศึกษาสถานการณ์ต่างๆ จากสื่อการเรียนการสอน เช่น วีดีทัศน์ หรือสื่อออนไลน์
- อภิปรายถึงความสำคัญของความรับผิดชอบและทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
- มอบหมายให้ทำงานร่วมกันเป็นคู่ และเป็นกลุ่ม โดยเน้นการประยุกต์ความรู้ที่ได้จากการเรียน
- ประเมินจากงานที่นำเสนอ
- ประเมินพฤติกรรมการทำงานร่วมกับผู้อื่น
ทักษะการทำงานเป็นทีม การมีน้ำใจช่วยเหลือผู้อื่น และความรับผิดชอบต่อการส่งงาน
๔.๒.๑ การทำงานเป็นกลุ่ม
๔.๒.๒ การเสริมแรงสำหรับพฤติกรรมที่เหมาะสม
การสังเกต
- ทักษะการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนด้วยกัน (4.1)
- ทักษะความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม (4.2)
- ทักษะการเรียนด้วยตนเอง มีความรับผิดชอบ ในงานที่ได้รับมอบหมาย ครบถ้วนทันเวลา (4.3)
- ทักษะในการปฏิสัมพันธ์กับบุคคล สถานภาพในสังคมระดับต่าง ๆ (4.4)
- มอบหมายงานเป็นกลุ่มแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบภายในกลุ่มอย่างชัดเจน
- การร่วมกันวิเคราะห์องค์ประกอบ ปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อการเผยแพร่ข่าวสารการประชาสัมพันธ์ในชั้นเรียน
- จัดโครงการหรือกิจกรรมที่สนับสนุนให้นักศึกษามีการประสานงานกับบุคคลอื่นหรือหน่วยงานภายนอก
1.ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มตามที่ได้รับมอบหมาย
2.ประเมินตนเองและประเมินซึ่งกันและกัน
3.สังเกตพฤติกรรมในการเรียน
4.ใช้ผลการประเมินจากการฝึกงาน
5.การเก็บสะสมชั่วโมงการปฏิบัติงานนอกเหนือจากการเรียนในรายวิชา
4.1.1 พัฒนาทักษะความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำ หรือ สมาชิกของกลุ่ม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และรับผิดชอบงานที่รับมอบหมาย
4.2.1 การมอบหมายงานเป็นกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าเกี่ยวกับภูมิปัญญาในท้องถิ่นของตน
4.2.2 การอภิปรายด้านสภาพสังคมไทย และสังคมโลกในปัจจุบัน
4.3.1 ประเมินจากการนำเสนอ สังเกตพฤติกรรมการทำงานร่วมกันของผู้เรียน
- สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่การแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ของกลุ่มทั้งในบทบาทผู้นำหรือผู้ร่วมทีมงาน (4.2)- มีทักษะกระบวนการกลุ่มในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ (4.3)- มีทักษะในการสร้างเสริมความสามัคคีและจัดการความขัดแย้งในกลุ่มหรือองค์กรอย่างเหมาะสม (4.5)
1.กระบวนการจัดการเรียนการสอนโดยมีการมอบหมายการทำงานเป็นกลุ่ม เป็นทีม และมีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบให้ชัดเจน2.กิจกรรมที่ส่งเสริมด้าน การนำเสนอหรือการแสดงออกซึ่งทักษะกระบวนการแก้ปัญหาตามสถานการณ์3.สร้างทักษะการทำงานร่วมกันเพื่อความสามัคคีของกลุ่ม4.จัดการเรียนการสอนโดยใช้กรณีศึกษาเพื่อให้นักศึกษาได้พัฒนาตนเองและรับผิดชอบ ต่อสังคม5.จัดการเรียนการสอนโดยใช้บทบาทสมมติ
1.ประเมินผลการนำเสนองานกลุ่มเป็นระยะเพื่อติดตามผลความก้าวหน้าของงาน2.ประเมินการนำเสนอผลงานที่เป็นผลสัมฤทธิ์ของงาน3.จัดให้มีการประเมินตนเองและให้เพื่อนประเมินในการเข้าร่วมกิจกรรมหรือผลการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย4.มีการตรวจชิ้นงาน5.สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่มและความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
นักศึกษาจะมีทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ตามข้อกำหนดในคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
(1) ทักษะการคิดคำนวณเชิงตัวเลข การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปและการวิเคราะห์ทางสถิติที่เกี่ยวข้อง
(2) พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
(3) พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
(4) ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
(1) มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ และทำรายงาน โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิงจากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้
(2) นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
(1) การจัดทำรายงานและนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
(2) การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีอภิปราย
สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับสถานการณ์ต่างๆ และสามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสารและนำเสนอข้อมูลข่าวสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ฝึกการค้นคว้าหาข้อมูลโดยใช้สื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ทักษะการนำเสนอทั้งกลุ่มใหญ่และกลุ่มย่อย และทักษะการใช้เทคโนโลยีประกอบการนำเสนอผลงาทักษะการนำเสนอทั้งกลุ่มใหญ่และกลุ่มย่อย และทักษะการใช้เทคโนโลยีประกอบการนำเสนอผลงาน
มอบหมายงานให้ศึกษาด้วยตนเองตามประเด็นที่มอบหมาย แล้วกำหนดให้มีการนำเสนอผลงานต่อสมาชิกในห้องเรียน ทั้งการนำเสนอเป็นกลุ่มย่อยและกลุ่มใหญ่ และให้ นักศึกษาพัฒนารูปแบบการนำเสนอโดยการใช้สื่อที่เหมาะสม
การสังเกตพฤติกรรมการนำเสนอผลงาน
5.1.1 ทักษะเชิงตัวเลข โดยการนำตัวเลข สถิติต่าง ๆ มาใช้ประกอบให้สอดคล้องกับการเรียนเรื่องต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
5.1.2 พัฒนาทักษะด้านการสื่อสารทั้งการฟัง การพูด การแปล การเขียนโดยการทำรายงานและการนำเสนอหน้าชั้น
5.1.3 พัฒนาทักษะด้านการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
5.1.4 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้เทคโนโลยี
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ ทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข สถิติมาอ้างอิงจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยใช้เทคโนโลยี
5.3.1 ประเมินจากรายงาน การนำเสนอด้วยเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการอภิปราย
- มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อ สื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ (5.3)
1.จัดให้มีการแสดงบทบาทสมมติเพื่อการสื่อสารภาษา อังกฤษและภาษาต่างประเทศอื่นๆในสถานการณ์ต่าง ๆ
2. จัดห้องปฏิบัติการ ฝึกให้ใช้ซอฟต์แวร์ทางการท่องเที่ยวและโรงแรม หรือสายการบิน ฯลฯ
3. ฝึกให้นำเสนอผลงานที่ค้นคว้าด้วยตนเองในห้องเรียน
4. บูรณาการการใช้คอมพิวเตอร์เครือข่าย และซอฟต์แวร์หรือสื่อต่าง ๆ ในทุกรายวิชาที่สามารถทำได้
1.ประเมินผลโดยการสอบข้อเขียน
2. ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน
3. ประเมินผลจากการใช้คอมพิวเตอร์
4. ประเมินผลจากการสรุปหัวข้อที่มอบหมายให้ค้นคว้า
5.การประเมินตนเองด้านทักษะการวิเคราะห์สื่อสารและการใช้เทคโนโลยีของนักศึกษา
- สามารถประยุกต์ใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์และสถิติ ในการดำเนินชีวิตและปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม (5.1)- สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสารและนำเสนอข้อมูลข่าวสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ (5.3)
1. ฝึกแก้ปัญหา/โจทย์ หรือกรณีศึกษาที่ใช้ในชีวิตประจำวัน2. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะ การสื่อสารระหว่างบุคคลทั้งการพูด ฟัง และเขียนในกลุ่มผู้เรียน ระหว่างผู้เรียน และผู้สอน และบุคคลที่เกี่ยวข้องในสถานการณ์ที่หลากหลาย เช่น การนำเสนอ อภิปราย การเขียนรายงาน3. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เลือกและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่หลากหลายรูปแบบและวิธีการ เช่น การส่งเมล การค้นคว้า กรณีตัวอย่าง4. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้ความสามารถในการเลือกสารสนเทศและฝึกทักษะการนำเสนอข้อสนเทศด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับผู้ฟังและเนื้อหาที่นำเสนอ เช่น การค้นคว้าและนำเสนอ
1.ทดสอบการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ข้อสอบ การทำรายงาน และการวิเคราะห์ข้อมูลผลการศึกษาวิจัย และการศึกษาอิสระ2.ทดสอบทักษะการฟังจากแบบทดสอบที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การเรียนรู้3.ประเมินผลงานตามกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้แบบสังเกต แบบประเมินทักษะการพูด และการเขียน
นอกจากทักษะดังกล่าวตามคุณสมบัติของหลักสูตรแล้ว รายวิชานี้ นักศึกษาจะมีทักษะอื่นๆ อีก เช่น
- พัฒนาทักษะความรู้ ความสามารถในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูด การเขียน การอ่าน การตีความ และมีการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
- พัฒนาทักษะในการเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนอที่สอดคล้องกับบริบทต่าง ๆ และสามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม
- ให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองทางสื่อต่าง ๆ แล้ววิเคราะห์พร้อมกับนำเสนอ ทั้งแบบบรรยาย การยกตัวอย่างกรณีศึกษา เชื่อมโยงกับเนื้อหาของวิชา พร้อมกับบอกแหล่งอ้างอิง
- นำเสนอผลการศึกษาข้อมูล พร้อมการวิเคราะห์และนำเสนอในรูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม
- กำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่มและรายบุคคล นำเสนอผลงาน จัดทำรายงานส่งทั้งเป็นเล่มและใช้เทคโนโลยีสื่อสารอย่างอื่น (E-mail) หรือรูปแบบการนำเสนอลักษณะอื่น เช่น VCD
- ประเมินจากการนำเสนอผลงานในรูปของเทคโนโลยี
- ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปราย หลังจากฟังการนำเสนอผลการศึกษา
- นำเสนอผลการทำงานในรายงาน หรือรูปแบบอื่นๆ และตอบข้อซักถามของอาจารย์
บทที่ 1. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
1.1 ความหมายและความสำคัญของมนุษย์
1.2 มนุษย์กับความเป็นมา
1.3 กลุ่มชาติพันธ์และความหลากหลาย
1.4 สิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตมนุษย์
1.การบรรยาย
2.การอภิปรายแบบมีส่วนร่วม
3. การศึกษาสภาพแวดล้อมรอบๆตัว
4.การศึกษาจากสื่อ-อุปกรณ์ประกอบการเรียน
5.การจัดทำโครงการสิ่งแวดล้อมหรือวัฒนธรรมชุมชน
อาจารย์ณรงค์ศักดิ์ พิทักษ์ตันสกุล
Unit 1 Student life
Reading skills
- Way of reading : reading methods
Writing skills
- Punctuation
- Linking ideas
- Checking your writing
- Writing about people
Vocabulary development
- Parts of speech
- A dictionary entry
- Recording vocabulary
- Focus student’s attention on the heading How do you read? and discuss their answers with the class.
- Students read and discuss the articles in the group.
- Give students time to complete the exercises. Check the answers with the class.
- Students learn how to use capital letters, full stop and question marks in sentences.
- Ask them to rewrite the sentences by adding capital letters.
- Students learn how to use ‘and’ and ‘but’ to join sentences.
- Do the exercises and check answers together.
- Students identify the part of speech of each word.
อ. สุภาภรณ์ ต้นไกร
-ปฐมนิเทศรายวิชา
-รับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่าง ๆ เช่น วิธีการเรียน ชิ้นงานที่ต้องทำ การประเมินผล ฯลฯ
-แนะนำวิธีการเรียนและวิธีการจัดการเรียนการสอน
บทที่ ๑ ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์
๑.๑ ความเป็นมนุษย์
๑.๒ องค์ประกอบของความเป็นมนุษย์
๑.๓ จิตและกระบวนการทำงานของจิต
๑.๓ ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของความเป็นมนุษย์
(กาย และ จิต)
-บรรยาย
-อภิปรายกลุ่มย่อยและนำเสนอผลการอภิปรายกลุ่มย่อย
ดร.รังรอง งามศิริ
- ชี้แจงรายละเอียดแนวทางการเรียนการสอน เกณฑ์การประเมินผล
- ประวัติความเป็นมาของการเพาะเห็ด
- ความสำคัญและประโยชน์ของเห็ด
บรรยาย อภิปรายกลุ่ม
อ.จิราพร โพธิ์งาม
ปฐมนิเทศรายวิชา
- ทำความเข้าใจวิธีการเรียนการสอนและการประเมินผล
- ทดสอบความรู้ก่อนเรียน
- ปฐมนิเทศ
- บรรยายประกอบสื่อ
- ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียน
- ซักถามและตอบคำถาม
รศ.ติกาหลัง สุขกุล
แนะนำวิธีการเรียนและแจกแนวการสอน
- เรียนรู้ท้องถิ่นเปิดโลกกาญจนบุรี
1. ผู้สอนแนะนำการเรียนและการวัดผล วิธีการเรียน
2. ผู้สอนบรรยายข้อมูลและเรื่องราวของจังหวัดกายจนบุรี
3. สื่อ : แผนที่ CD โปรแกรมนำเสนอด้วย Power Point
ผศ.ดร.ณรัชช์อร ศรีทอง
อ.ภาวิตา ชวนขยัน
อ.ภัคธร ชาญฤทธิเสน
อ.นพรัตน์ ไชยชนะ
ทดสอบก่อนเรียน Pretest
Over view ปรับความรู้ด้านการบริการ กำหนดข้อตกลงเรื่องพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักศึกษา
- บรรยายโดยอาจารย์
ผู้สอน-pretest
-นำเสนอความรู้พื้นฐาน
เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ของนักศึกษา
-แนะนำตนเองเพื่อปรับ
ความรู้พื้นฐาน
อ.ศรเพชร ยิ่งมี
บทที่1
บทที่ 2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
2.1 ความหมายและความสำคัญของสิ่งแวดล้อม
2.2 คุณสมบัติและประเภทของสิ่งแวดล้อม
2.3 มิติทางสิ่งแวดล้อม
2.4 บทบาทและหน้าที่ของสิ่งแวดล้อม
2.ศึกษาจากระบบสารสนเทศ
Unit 2 Daily routines
- Predicting content
- Skimming
- Hand writing
- Paragraphs
- Wring about routine and procedure
- Collocations
- Jobs ending in –er,
-or, -ist
- Ask students to predict the article by using pictures in the text before reading. Then discuss the answers with the whole class.
- Ask students about the differences between skimming and scanning. Then discuss the answers together.
- Students read the articles individually for getting the general idea. Discuss the articles with the class.
- Students do handwritten work about themselves in a paragraph and check it correctly.
- Students complete the exercises
in paragraph with sequencing words and check the answers with their partners.
- Students interview partner’s daily routine to write a paragraph. Then write their routines and procedures.
บทที่ ๒ ปัจจัยพื้นฐานของพฤติกรรม
๒.๑ ความหมายของพฤติกรรม
๒.๒ รูปแบบการอธิบายพฤติกรรม
๒.๒ องค์ประกอบของพฤติกรรม
๒.๓ แนวคิดทางจิตวิทยาในการศึกษาพฤติกรรม
-ทดสอบความเข้าใจเรื่องพฤติกรรม และการอภิปรายผลการทดสอบ
-ฝึกการวิเคราะห์องค์ประกอบของพฤติกรรม
-การวิเคราะห์พฤติกรรมของกรณีศึกษา
- สถานการณ์การผลิตเห็ด
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
- ความหมาย ความสำคัญของการสื่อสาร
- ประเภทของการสื่อสาร
- ปัจจัยที่ทำให้การสื่อสารสัมฤทธิผล
- บรรยายประกอบสื่อและนำเสนอ ซักถาม
- ศึกษาเพิ่มเติมจากตำราและเอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 1 บทนำ
1.1 ความหมายและที่มาของสยามและประเทศไทย
1.2 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
1.3 ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของประเทศ
ไทย
1.4 แนวคิดเกี่ยวกับการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์
1.5 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์
1.6 แนวคิดเกี่ยวกับถิ่นกำเนิดของคนไทย
1. ให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับความหมายและที่มาของชื่อสยามและประเทศไทยแล้วมาร่วมกันอภิปรายสรุป
2. ผู้สอนบรรยายเรื่องความหมายและที่มาของสยามและประเทศไทย
3. นักศึกษาร่วมกันอภิปรายข้อมูลพื้นฐานและลักษณะทางภูมิศาสตร์ของประเทศไทย
4. ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับถิ่นกำเนิดของคนไทยแล้วร่วมกันอภิปราย สรุป
5. สื่อ : แผนที่ CD โปรแกรมนำเสนอด้วย Power Point
ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ และทักษะทางปัญญา
วิธีการประเมิน การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค
สอบ
- สอบกลางภาค
- สอบปลายภาค
สอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
สอบกลางภาค
สอบปฏิบัติเก็บคะแนนย่อยสอบกลางภาคและปลายภาค
-ทดสอบกลางภาค
-ทดสอบปลายภาค
-ทดสอบย่อย
ผลการเรียนรู้ ด้านความรู้ และทักษะการวิเคราะห์ การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
วิธีการประเมิน นำเสนอรายงาน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน
การเข้าชั้นเรียน
1.ปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
2.ปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรที่สอดคล้องกับท้องถิ่น
ค้นคว้า
การนำเสนอรายงาน
การทำงานกลุ่ม
การสรุปจากการดูซีดี
การส่งรายงานที่มอบหมาย
สอบปลายภาค
วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้าแล้วนำเสนอการทำงานทั้งรายกลุ่มและรายบุคคล การอภิปรายกลุ่ม
-ตรวจผลงานศึกษาค้นคว้า
-การนำเสนอ
ผลการเรียนรู้ ด้านความรับผิดชอบ
วิธีการประเมิน การเข้าชั้นเรียน วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า
การส่งแบบฝึกหัด การส่งงานตามกำหนดเวลาที่ได้รับมอบหมาย
การมีส่วนร่วมอภิปราย แสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน
การเข้าชั้นเรียน ความประพฤติ และการแต่งกาย
นำเสนองานกลุ่ม
การส่งงานตามที่มอบหมาย รายบุคคล
การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน
-ประเมินจากการมีส่วนร่วมกิจกรรมกลุ่มในชั้นเรียน
-ประเมินความรับผิดชอบ ความตรงต่อเวลา และกิจกรรมที่
มอบหมาย
ผลการเรียนรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
วิธีการประเมิน การสังเกต/การทำงานกลุ่ม
วิเคราะห์กรณีศึกษาและการนำเสนอ
เวลามาเรียน
การอภิปราย
การมีส่วนร่วม
แบบกิจกรรมท้าย บทเรียน