รายละเอียดของรายวิชา
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
ชื่อวิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา/สาขา

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
   1. รหัสและชื่อรายวิชา
 
   2. จำนวนหน่วยกิต
  หน่วยกิต
   3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
  วิชาเลือกเสรี
   4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา
 
   5. ภาคการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน
  ภาคการศึกษาที่ / ชั้นปีที่
   6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (pre-requisite) (ถ้ามี)
 
   7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (co-requisites) (ถ้ามี)
 
   8. สถานที่เรียน
 
   9. วันที่จัดทำหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด
 


หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
   1.จุดมุ่งหมายของรายวิชา
 

             1.1 เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาวิชาฟิสิกส์เบื้องต้นเพื่อการประกอบวิชาชีพครู

             1.2 เพื่อให้สามารถนำความรู้ไปแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ที่พบในชีวิตประจำวัน

             1.3 เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถ ไปใช้ศึกษาต่อในระดับสูงได้

   2.วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา (ถ้ามี)
 

ไม่มี


หมวดที่ 3 ลักษณะและการดำเนินการ
   1.คำอธิบายรายวิชา  
   2. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา
บรรยาย
สอนเสริม
การฝึกปฏิบัติ/
งานภาคสนาม/การฝึกงาน
การศึกษาด้วยตนเอง
45 ชั่วโมง ไม่มี ไม่มี 90 ชั่วโมง
   3. จำนวนชั่วโมงที่ใช้ต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล  

1 ชั่วโมง/สัปดาห์


หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา  
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
      1. ที่ต้องการพัฒนา
 

1. มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและกลุ่ม การส่งงานที่รับมอบหมายภายในเวลาที่กำหนด

2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการ

3. รับฟังความคิดเห็นของเพื่อนในชั้นเรียน

4. เคารพกฎระเบียบของมหาวิทยาลัยและข้อตกลงในการเรียนวิชาฟิสิกส์ 2

      2. วิธีการสอน
 

1. กำหนดข้อตกลงการเรียนการสอนร่วมกันระหว่างนักศึกษากับอาจารย์ผู้สอน เช่น การเข้าชั้นเรียน การปิดระบบสื่อสาร การแต่งกายตามระเบียบมหาวิทยาลัย   

2. สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนเป็นระยะๆ

3. นำเสนอข้อมูลจากการสืบค้นและซักถามหรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลหรือความรู้ที่เพื่อนนำเสนอ

4. เปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นหรือซักถามในหัวข้อต่าง ๆ ที่สอนหรือการแสดงความคิดเห็น 

5. การปฏิบัติตนของอาจารย์ผู้สอนให้เป็นแบบอย่าง ด้านคุณธรรม จริยธรรม  จรรยาบรรณวิชาชีพครู ความรับผิดชอบ  ความมีวินัยในตนเอง   การรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา

      3. วิธีการประเมินผล
 

1.ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม

2.ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรม

3.ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ

4.ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย

 

      1. ที่ต้องการพัฒนา
 

 

-  การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า

    -  วงจรไฟฟ้ากระแสตรง

    -  กระแสไฟฟ้า

    -  กฎของโอห์ม

    - วงจรอนุกรม

    - วงจรขนาน

    - กฎของเคอร์ชอฟฟ์

    - วงจรแบ่งแรงดัน

    - วงจรแบ่งกระแส

- ตัวเก็บประจุ  Capacitor

    - การอัดประจุ (Charge)

    - การคายประจุ (Discharge)

- ประจุไฟฟ้า

- กฎของคูลอมบ์

- ศักย์ไฟฟ้า

- ความจุไฟฟ้า

-  สนามไฟฟ้า

-  กฎของเกาส์

- แรงของโลเร็นตซ์

- สนามแม่เหล็กอันเนื่องมาจากกระแสไฟฟ้า

- กฎของแอมแปร์

- กฎของฟาราเดย์-เลนซ์

- แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ

- สารแม่เหล็ก

- การแกว่งกวัดของสนามไฟฟ้า

- แสงเชิงเรขาคณิต

    - การสะท้อน

    - การหักเห

    - การเลี้ยวเบน

    - การแทรกสอด

-  สเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

- ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ

- โครงสร้างอะตอม

- กัมมันตภาพรังสี

- นิวเคลียสและการสลายนิวเคลียส

      2. วิธีการสอน
 

1.ใช้การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนแบบปฏิบัติ  การสอนแบบ Active Learning   การสอนแบบการอภิปราย    การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง

2.ฝึกปฏิบัติ การสืบค้น ทำรายงานและนำเสนอผลการสืบค้น 

3.การบรรยายของอาจารย์ผู้สอนหรือวิทยากร  หรือการศึกษาในแหล่งเรียนรู้

 

      3. วิธีการประเมินผล
 

1.การทดสอบย่อย

2.สอบข้อเขียน

3.สอบปฏิบัติการ

4.สอบปากเปล่า

5.การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 

6.ประเมินจากแบบฝึกและรายงาน

7.ประเมินจากการศึกษาด้วยตนเอง

 

      1. ที่ต้องการพัฒนา
 

- สามารถแก้ปัญหาโจทย์ทางฟิสิกส์ระดับอุดมศึกษาได้

      2. วิธีการสอน
 

1.สอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยเปิดโอกาสให้มีการอภิปรายแสดงความคิดเห็นได้มากขึ้น

2.แนะนำและฝึกกระบวนการคิดอย่างสร้างสรรค์เมื่อเข้าศึกษาเริ่มจากโจทย์ที่ง่าย และเพิ่มความยากตามระดับชั้นเรียนที่สูงขึ้นในรายวิชาที่เหมาะสม

3.มอบหมายงานการแก้ปัญหาจากโจทย์ปัญหาหรือกรณีศึกษาหรือสถานการณ์จำลอง

4.เสริมสร้างพัฒนาการทางด้านเชาว์ปัญญาโดยให้ฝึกคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ความรู้ใหม่จากความรู้เดิมด้านต่างๆ

5.มีการสาธิตเกี่ยวกับเนื้อหาในวิชาฟิสิกส์เฉพาะทาง 1

 

      3. วิธีการประเมินผล
 

1.ประเมินจากการมีส่วนร่วมอภิปรายละแสดงความคิดเห็น

2.ประเมินจากการแก้โจทย์ปัญหาหรือกรณีศึกษาหรือสถานการณ์จำลองที่ได้รับมอบหมาย

3.ประเมินโดยการสอบข้อเขียนด้วยโจทย์ที่ต้องการใช้ทักษะปัญญา

 

      1. ที่ต้องการพัฒนา
 

- มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งรายบุคคลและงานกลุ่ม 
- สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและสมาชิกในกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
- สามารถวางแผนและรับผิดชอบการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 

      2. วิธีการสอน
 

1.กำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม ซึ่งต้องแนะนำกฎ กติกา มารยาทบทบาทความรับผิดชอบของแต่ละคนในการเรียนร่วมกัน

2.การมอบหมายงานกลุ่มย่อยที่สลับหมุนเวียนสมาชิกกลุ่มและตำแหน่งหน้าที่ในกลุ่ม

3.ยกตัวอย่างผลกระทบอันเนื่องจากปัญหาการขาดมนุษยสัมพันธ์เป็นความรับผิดชอบที่มีต่อตนเองและสังคม

4.มีการสอนแบบปฏิบัติหรือการเรียนรู้ด้วยกระบวนการกลุ่ม

      3. วิธีการประเมินผล
 

1.ประเมินจากพฤติกรรม และการแสดงออกของนักศึกษาในการทำงานกลุ่มในชั้นเรียน

2.สังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรม

      1. ที่ต้องการพัฒนา
 

- ทักษะการคิดคำนวณในการแก้โจทย์ปัญหา

- สรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูด เขียนในการทำและนำเสนอรายงาน

- ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อเรียนรู้เพิ่มเติมด้วยตนเองและการทำรายงาน

      2. วิธีการสอน
 

1. การเรียนรู้ด้วยตนเองในการแก้โจทย์ปัญหา

2. มอบหมายงานที่ต้องสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ

3. นำเสนองานด้วยสื่อเทคโนโลยี

      3. วิธีการประเมินผล
 

1.ประเมินทักษะการสื่อสารด้วยภาษาเขียนจากรายงานแต่ละบุคคลหรือรายงานกลุ่มในส่วนที่นักศึกษารับผิดชอบ

2.ประเมินทักษะการสื่อสารด้วยภาษาพูดจากการพัฒนาการการนำเสนองานในชั้นเรียน

3.ประเมินจากผลการสืบค้นโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

4.ประเมินจากผลงานกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อมอบหมายแต่ละบุคคล


 หมวดที่ 5 แผนการสอน และแผนการประเมินผลการเรียนรู้  
1. แผนการสอน
สัปดาห์
ที่
หัวข้อ/รายละเอียด
จำนวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียนการสอน
และสื่อที่ใช้
ผู้สอน
1

ชี้แจงการเรียนการสอน

- กำหนดข้อตกลงการเรียนการสอน

 - การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า

3

-  สนทนา

- สอนโดยการบรรยาย

- ฝึกแก้โจทย์ปัญหา

- อภิปราย สรุปประเด็นปัญหาต่างๆ 

ดร. ปกรณ์ ประจวบวัน

2

-  การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า

    -  วงจรไฟฟ้ากระแสตรง

    -  กระแสไฟฟ้า

    -  กฎของโอห์ม

3

- สอนโดยการบรรยาย

- ฝึกแก้โจทย์ปัญหา

- อภิปราย สรุปประเด็นปัญหาต่างๆ 

ดร. ปกรณ์ ประจวบวัน

3

- การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า

    - วงจรอนุกรม

    - วงจรขนาน

    - กฎของเคอร์ชอฟฟ์

   

3

- สอนโดยการบรรยาย

- ฝึกแก้โจทย์ปัญหา

- อภิปราย สรุปประเด็นปัญหาต่างๆ 

ดร. ปกรณ์ ประจวบวัน

4

- การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า

    - วงจรแบ่งแรงดัน

    - วงจรแบ่งกระแส

   

3

- สอนโดยการบรรยาย

- ฝึกแก้โจทย์ปัญหา

- อภิปราย สรุปประเด็นปัญหาต่างๆ 

ดร. ปกรณ์ ประจวบวัน

5

- ตัวเก็บประจุ  Capacitor

    - การอัดประจุ (Charge)

    - การคายประจุ (Discharge)

   

3

- สอนโดยการบรรยาย

- ฝึกแก้โจทย์ปัญหา

- อภิปราย สรุปประเด็นปัญหาต่างๆ 

ดร. ปกรณ์ ประจวบวัน

6

- ประจุไฟฟ้า

- กฎของคูลอมบ์

- ศักย์ไฟฟ้า

- ความจุไฟฟ้า

   

3

- สอนโดยการบรรยาย

- ฝึกแก้โจทย์ปัญหา

- อภิปราย สรุปประเด็นปัญหาต่างๆ 

ดร. ปกรณ์ ประจวบวัน

7

-  สนามไฟฟ้า

-  กฎของเกาส์

3

- สอนโดยการบรรยาย

- ฝึกแก้โจทย์ปัญหา

- อภิปราย สรุปประเด็นปัญหาต่างๆ 

ดร. ปกรณ์ ประจวบวัน

8

- แรงของโลเร็นตซ์

- สนามแม่เหล็กอันเนื่องมาจากกระแสไฟฟ้า

3

- สอนโดยการบรรยาย

- ฝึกแก้โจทย์ปัญหา

- อภิปราย สรุปประเด็นปัญหาต่างๆ 

ดร. ปกรณ์ ประจวบวัน

9

สอบกลางภาค

10

- กฎของแอมแปร์

- กฎของฟาราเดย์-เลนซ์

3

- สอนโดยการบรรยาย

- ฝึกแก้โจทย์ปัญหา

- อภิปราย สรุปประเด็นปัญหาต่างๆ 

ดร. ปกรณ์ ประจวบวัน

11

- แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ

- สารแม่เหล็ก

- การแกว่งกวัดของสนามไฟฟ้า

3

- สอนโดยการบรรยาย

- ฝึกแก้โจทย์ปัญหา

- อภิปราย สรุปประเด็นปัญหาต่างๆ

ดร. ปกรณ์ ประจวบวัน

12

- แสงเชิงเรขาคณิต

    - การสะท้อน

    - การหักเห

    - การเลี้ยวเบน

    - การแทรกสอด

3

- สอนโดยการบรรยาย

- ฝึกแก้โจทย์ปัญหา

- อภิปราย สรุปประเด็นปัญหาต่างๆ 

ดร. ปกรณ์ ประจวบวัน

13

- ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ

3

- สอนโดยการบรรยาย

- ฝึกแก้โจทย์ปัญหา

- อภิปราย สรุปประเด็นปัญหาต่างๆ 

ดร. ปกรณ์ ประจวบวัน

14

- โครงสร้างอะตอม

- กัมมันตภาพรังสี

    

3

- สอนโดยการบรรยาย

- ฝึกแก้โจทย์ปัญหา

- อภิปราย สรุปประเด็นปัญหาต่างๆ 

ดร. ปกรณ์ ประจวบวัน

15

- นิวเคลียสและการสลายนิวเคลียส

3

- สอนโดยการบรรยาย

- ฝึกแก้โจทย์ปัญหา

- อภิปราย สรุปประเด็นปัญหาต่างๆ 

ดร. ปกรณ์ ประจวบวัน

16

สอบปลายภาค

 
2 แผนการประเมินผลการเรียนรู้
ลำดับที่
ผลการเรียนรู้
วิธีการประเมิน*
สัปดาห์ที่
กำหนด
สัดส่วน
การประเมิน
1
ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา

-สอบกลางภาค

9
20%
2
ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา

-สอบปลายภาค

16
40%
3
ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา

-การเข้าชั้นเรียนและการเคารพกฎระเบียบ ข้อตกลง

1-15
10%
4
ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา

- คะแนนการบ้านและรายงาน

1-15
30%
รวม
100

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน  
   1.เอกสารตำราหลัก
 
   2. เอกสารข้อมูลสำคัญ
 
   3.เอกสารข้อมูลแนะนำ
 

หมวดที่ 7 การประเมินผลและปรับปรุงการดำเนินการของรายวิชา  
   1.กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
 

ให้นักศึกษาที่เรียนรายวิชานี้ทุกคนประเมินประสิทธิผล ดังนี้

          - แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา

          - การเสวนาระหว่างอาจารย์(ผู้สอน)และนักศึกษา(ผู้เรียน)

   2.กลยุทธ์การประเมินการสอน
 

การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนม

   3.การปรับปรุงการสอน
 
   4. การทบทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
 
   5. การดำเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา