ระบบบริการวิชาการ
รายละเอียดโครงการ
1. ชื่อโครงการ โครงการบริการวิชาการ เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะชุมชนในยุค Thailand 4.0: เติมพลังชีวิต กาย จิต สังคม และปัญญา
2. ข้อมูลพื้นฐานของโครงการ
     2.1 ประเภทโครงการ
      โครงการทั่วไป
      โครงการพิเศษตามนโยบายของมหาวิทยาลัย
      โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
     

2.2 ลักษณะโครงการ
    โครงการใหม่
    โครงการต่อเนื่อง ปีที่

3. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ / ภารกิจของหน่วยงาน
  ยุทธศาสตร์ที่ 1 ผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ เชี่ยวชาญ มีทักษะการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
4. ผู้รับผิดชอบโครงการ
  4.1 ชื่อผู้รับผิดชอบโครงการ 
       หน่วยงาน :
4.2 หน่วยงานร่วม ภายใน ภายนอก

อบต.ท่าเสา

5. หลักการและเหตุผล
 

หลักการและเหตุผล

 

สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงสู่วัตถุนิยม ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตในทุกระดับทั้งระดับบุคคล ครอบครัว สถาบัน องค์กร หน่วยงาน สังคม/ชุมชน ประเทศ สิ่งที่ตามมาคือหากไม่มีภูมิคุ้มกันที่ดีพอก็จะส่งผลกระทบต่อสุขภาวะใน 4 มิติทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และปัญญา โดยเฉพาะในระดับสังคม/ชุมชนจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องสร้างเข้มแข็งมีขีดความสามารถในการจัดการปัญหาของตนเองได้ในระดับหนึ่ง ด้วยการมีผู้นำที่มีความสามารถ มีการเรียนรู้ร่วมกันอย่างต่อเนื่อง บนพื้นฐานวัฒนธรรม ความเชื่อ คุณค่าดั้งเดิม ศาสนา และเศรษฐกิจชุมชนที่พึ่งพาเอื้อเฟื้อกันและกัน โดยแต่ละชุมชนได้ใช้ศักยภาพของตนเองเข้าคลี่คลายและจัดการปัญหาได้ด้วยตนเองภายใต้ความร่วมมือและสนับสนุนจากองค์กรภายนอก

ปัญหาในปัจจุบันที่ส่งผลต่อความสมดุลแห่งสุขภาวะของชุมชน คือโรคออฟฟิศซินโดรม (Office Syndrome) เป็นอาการที่พบบ่อยในกลุ่มคนทำงานออฟฟิศที่สภาพแวดล้อมในที่ทำงานไม่เหมาะสม การนั่งทำงานตลอดเวลา การไม่มีการเคลื่อนไหวร่างกาย โรคดังกล่าวได้ขยายวงกว้างสู่ประชาชนในทุกเพศ ทุกวัย ทุกอาชีพ แม้กระทั่งเกษตรกร อาการที่พบกล้ามเนื้ออักเสบปวดเมื่อยตามอวัยวะต่างๆ เช่น คอ หลัง ไหล่ บ่า แขน หรือข้อมือ รองช้ำ มีอาการของหมอนรองกระดูกเคลื่อนร่วมด้วยนิ้วล็อค ตลอดจนปวดหัวไมเกรน เป็นต้นปัญหาอีกอย่างคือชุมชนมีทรัพยากร เช่น สมุนไพร ภูมิปัญญาชาวบ้าน แต่ไม่ได้นำมาสานต่อเพื่อสืบทอดองค์ความรู้แก่ลูกหลาน การพึ่งพาในการดูแลสุขภาวะจากข้างนอกชุมชนจึงมีมากขึ้นระยะยาวชุมชนก็อ่อนแอลงเรื่อยๆ

สุขภาวะของชุมชนเป็นสิ่งสำคัญในการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนสู่ความยั่งยืน การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมด้วยแพทย์ทางเลือกจึงเป็นทางรอดของชุมชน ด้วยนวัตกรรมการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ด้วยปัญจศาสตร์ ประกอบไปด้วยเวชศาสตร์การกีฬาแพทย์แผนไทยตอกเส้นภูมิปัญญาล้านนาแพทย์แผนจีน และอายุรเวทอินเดีย การบูรณาการศาสตร์ดังกล่าว เป็นการปรับสมดุลร่างกายสู่ความยั่งยืน ซึ่งจะส่งผลต่อระบบไหลเวียนเลือด ระบบน้ำเหลือง ระบบการทำงานของกล้ามเนื้อ เอ็นและข้อต่อเมื่อระบบการทำงานของร่างกายเกิดความสมดุล เซลล์ทุกเซลล์ในร่างกายจะแข็งแรง ทำให้เราดูอ่อนเยาว์กว่าวัย เมื่อสุขภาพกายและจิต ดีขึ้นจะส่งผลต่อคุณภาพชีวิต สามารถอยู่สังคมได้อย่างมีความสุข และใช้ปัญญาในการแก้ปัญหาของตนและทำประโยชน์เพื่อสังคม/ชุมชน ประเทศชาติ มากขึ้น

มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี มีพันธกิจตามมาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 มีจุดเน้นตามภารกิจเพื่อให้บริการวิชาการทางการศึกษาแก่ท้องถิ่นและสังคม และได้ให้ความสำคัญในการวิจัยเพื่อการพัฒนาและสร้างความร่วมมือเพื่อการถ่ายทอดการสร้างองค์ความรู้เสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้นักศึกษาและประชาชนในเขตพื้นที่บริการ ได้แก่ ชุมชนตำบลท่าเสาอำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรีซึ่งจากการสำรวจสภาพปัญหาพบว่าชุมชนยังต้องได้รับการให้ความรู้ในด้านสุขภาวะ และมีความต้องการในการพัฒนาตนเองเพื่อเป็นผู้นำด้านการดูแลสุขภาวะชุมชน กลุ่มที่ให้ความสนใจและมีพื้นฐานการดูแลสุขภาพเบื้องต้นสามารถพัฒนาต่อยอดเพื่อเป็นผู้นำด้านสุขภาวะชุมชน ได้แก่ กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)

ดังนั้นเพื่อให้ชุมชนซึ่งเป็นพื้นที่บริการวิชาการ ได้พัฒนาศักยภาพเพื่อการเสริมสร้างสุขภาวะชุมชนในยุค Thailand 4.0ทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม และปัญญา จึงจัดทำโครงการบริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะชุมชนในยุค Thailand 4.0: เติมพลังชีวิต กาย จิต สังคม และปัญญา

6. วัตถุประสงค์
 

วัตถุประสงค์

1. เพื่อให้ผู้รับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาวะชุมชนในยุค Thailand 4.0และการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมด้วยแพทย์ทางเลือก

2.เพื่อให้ผู้รับการอบรมฝึกปฏิบัติในการดูแลสุขภาพด้วยแพทย์ทางเลือก

3.เพื่อถอดบทเรียนในการเสริมสร้างสุขภาวะชุมชนในยุค Thailand 4.0เติมพลังชีวิต กาย จิต สังคม และปัญญาจากผู้รับการอบรมและผู้เกี่ยวข้อง

7. พื้นที่ / ชุมชนเป้าหมาย
 

อบต.ท่าเสา

8. กลุ่มโครงการบริการวิชาการ
  กลุ่ม 4 กลุ่มโครงารบริการวิชาการอื่นๆ (ตามความเชียวชาญ ของคณะ ศูนย์ สำนัก)
9. ชุมชนเป้าหมายบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
  ภายนอกมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80)
- กลุ่มผู้ประกอบการ/บุคลากรด้านอุตสาหกรรมบริการ คน
- กลุ่มบุคลากรทางการศึกษา/องค์กรปกครองท้องถิ่น คน
- กลุ่มอาชีพเกษตรกรในพื้นที่ คน
- กลุ่มชุมชนในพื้นที่ คน
- อื่นๆ (ระบุ) ผู้สูงอายุ 50 คน


ภายใมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (ไม่เกินร้อยละ 20)

- นักศึกษา คน
- อาจารย์ คน
- อื่นๆ (ระบุ) 4 คน
10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ เชิงปริมาณ / เชิงคุณภาพ
 

13.1 ผลผลิต

ผู้เข้ารับการอบรมเป็นกลุ่มผู้สูงอายุ ในเขตพื้นที่บริการ ชุมชน ตำบลท่าเสา อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรีจำนวน 50 คน

 

13.2 ผลลัพธ์

1. ผู้รับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาวะชุมชนในยุค Thailand 4.0และการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมด้วยแพทย์ทางเลือกร้อยละ 60 ขึ้นไป

2.ผู้เข้ารับการอบรมสามารถฝึกปฏิบัติและสามารถแนะนำวิธีการดูแลสุขภาพด้วยแพทย์ทางเลือกเบื้องต้นได้

3.มีคู่มือแนวปฏิบัติในการเสริมสร้างสุขภาวะชุมชนในยุค Thailand 4.0: เติมพลังชีวิต กาย จิต สังคม และปัญญา

13.3 ผลกระทบ
ไม่มี

11. วิธีดำเนินการ
 

11.1 สถานที่ดำเนินการ

ณ ชุมชนตำบลท่าเสาอำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี

 

11.2 แผนการดำเนิน

1.สำรวจสภาพ ปัญหา และความต้องการในการเสริมสร้างสุขภาวะชุมชนในยุค Thailand 4.0ในเขตพื้นที่บริการ

2.วิเคราะห์และสังเคราะห์สภาพ ปัญหา และความต้องการในการเสริมสร้างสุขภาวะชุมชนในยุค Thailand 4.0ในเขตพื้นที่บริการ

3. ประสานความร่วมมือระหว่างพื้นที่บริการและมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

4. เสนอโครงการบริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะชุมชนในยุค Thailand 4.0:เติมพลังชีวิต กาย จิต สังคม และปัญญา

5.ดำเนินการตามโครงการบริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะชุมชนในยุค Thailand 4.0:เติมพลังชีวิต กาย จิต สังคม และปัญญา

6.รายงานผลการดำเนินโครงการบริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะชุมชนในยุค Thailand 4.0:เติมพลังชีวิต กาย จิต สังคม และปัญญา

 

ขั้นตอนดำเนินการ
พ.ศ.2560
พ.ศ.2560
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
1.1.สำรวจสภาพ ปัญหา และความต้องการในการเสริมสร้างสุขภาวะชุมชนในยุค Thailand 4.0ในเขตพื้นที่บริการ
 
 
 
 
 
 
 
/
 
 
 
 
2.2.วิเคราะห์และสังเคราะห์สภาพ ปัญหา และความต้องการในการเสริมสร้างสุขภาวะชุมชนในยุค Thailand 4.0ในเขตพื้นที่บริการ
 
 
 
 
 
 
 
 
/
 
 
 
3.ประสานความร่วมมือระหว่างพื้นที่บริการและมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
 
 
 
 
 
 
 
 
 
/
 
 
4.เสนอโครงการบริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะชุมชนในยุค Thailand 4.0:เติมพลังชีวิต กาย จิต สังคม และปัญญา
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
/
 
5.ดำเนินการตามโครงการบริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะชุมชนในยุค Thailand 4.0:เติมพลังชีวิต กาย จิต สังคม และปัญญา
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
/
6.6.รายงานผลการดำเนินโครงการบริการวิชาการเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะชุมชนในยุค Thailand 4.0:เติมพลังชีวิต กาย จิต สังคม และปัญญา
/
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
7.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
8.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
9.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
10.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
11.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
12.                        
13.                        
14.                        
15.                        
12. งบประมาณ
 

รายการ
จำนวนเงิน
1. ค่าตอบแทน
14,400
2. ค่าใช้สอย
13,300
3. ค่าวัสดุ
2,600
รวมงบประมาณ
 

งบประมาณที่ใช้

งบประมาณโครงการ (งบแผ่นดิน)        เป็นเงิน  60,000   บาท

โดยแยกประเภทของงบตามรายละเอียดของหมวดเงินได้ดังนี้

หมวดค่าตอบแทน                          เป็นเงิน  14,400   บาท

หมวดค่าใช้สอย                             เป็นเงิน  13,000   บาท

หมวดค่าวัสดุ                                เป็นเงิน    2,600  บาท

13. ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
 

มิติที่ 1 ความรู้ความเข้าใจของกลุ่มเป้าหมาย

1. ผู้รับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาวะชุมชนและการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมด้วยแพทย์ทางเลือกมากขึ้น

มิติที่ 2 ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย

2.ผู้เข้ารับการอบรมสามารถฝึกปฏิบัติและสามารถแนะนำวิธีการดูแลสุขภาพด้วยแพทย์ทางเลือกเบื้องต้นได้

มิติที่ 3 การนำความรู้ไปใช้ของกลุ่มเป้าหมาย

3.หน่วยงานในพื้นที่สามารถนำคู่มือแนวปฏิบัติในการเสริมสร้างสุขภาวะชุมชนในยุค Thailand 4.0เติมพลังชีวิต กาย จิต สังคม และปัญญาใช้ในการพัฒนาท้องถิ่น สังคม/ชุมชนได้

14. การรายงานผลโดยโครงการ/กิจกรรมโดยภาพรวม
 

หน่วยงานในพื้นที่ (อบต.ท่าเสา) กำหนดแผนการเสริมสร้างสุขภาวะชุมชนในยุค Thailand 4.0ไว้เพื่อรองรับการพัฒนาในระยะสั้น และระยะยาว

  สถานะ การอนุมัติ วันที่ อนุมัติ * รูปแบบ วว/ดด/ปปปป เช่น 08/09/2558
          หมายเหตุ เสนอโครงการ
  สถานะ การดำเนินการ วันที่ดำเนินโครงการ 05/09/2560 * รูปแบบ วว/ดด/ปปปป เช่น 08/09/2558
          หมายเหตุ
  แหล่งงบประมาณ กรณี อื่นๆ ระบุแหล่งเงิน
 
จำนวนเงินที่ขออนุมัติ 60000 บาท
ค่าใช้จ่าย บาท
คงเหลือ บาท
คืนมหาวิทยาลัย บาท
สาเหตุที่คืน