ระบบบริการวิชาการ
รายละเอียดโครงการ
1. ชื่อโครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมและแก้ปัญหาการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา ด้วยกระบวนการวิจัย
2. ข้อมูลพื้นฐานของโครงการ
     2.1 ประเภทโครงการ
      โครงการทั่วไป
      โครงการพิเศษตามนโยบายของมหาวิทยาลัย
      โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
     

2.2 ลักษณะโครงการ
    โครงการใหม่
    โครงการต่อเนื่อง ปีที่

3. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ / ภารกิจของหน่วยงาน
  ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริม พัฒนาคุณภาพให้การบริการวิชาการและวิชาชีพ
4. ผู้รับผิดชอบโครงการ
  4.1 ชื่อผู้รับผิดชอบโครงการ 
       หน่วยงาน :
4.2 หน่วยงานร่วม ภายใน ภายนอก

โรงเรียนต่าง ๆ ในจังหวัดกาญจนบุรี

5. หลักการและเหตุผล
 

การศึกษาเป็นหัวใจสำคัญของการพัฒนาประเทศและได้รับการคาดหวังให้ทำหน้าที่ต่างๆ ที่เป็นรากฐานสำคัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เป็นส่วนช่วยในการเพิ่มความเท่าเทียมในสังคมและเป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างอาชีพซึ่งเป็นตัวขับเคลื่อนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและความเจริญรุ่งเรืองของประเทศ แต่ในสภาวการณ์ปัจจุบัน ทั่วโลกกำลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม การเมือง เศรษฐกิจและเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วหรือกำลังพัฒนา ส่งผลให้วิถีชีวิตของคนที่แตกต่างกันมีความแตกต่างกันมากขึ้น

การที่จะประสบความสำเร็จในการบูรณาการวิชาทั้งสี่ ครูผู้สอนต้องผนวกองค์ประกอบสำคัญของการเรียนการสอน 2 ด้านได้แก่ การจัดการเรียนรู้และการวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้ประสบผลสำเร็จ ซึ่งเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของผู้เรียนเองและด้านเนื้อหา (Content) ซึ่งเกี่ยวข้องกับความรู้พื้นฐานที่สามารถส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้น (Deeper Learning) (Pellegrino and Hilton, 2012) นอกจากนี้จำเป็นต้องให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ได้ทำงานเป็นกลุ่ม อภิปรายและสื่อสารเพื่อนำเสนอผลงานคล้ายกับแนวทางการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning : PBL) การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning : PBL) และการเรียนรู้โดยใช้การออกแบบเป็นฐาน (Design-Based Learning) โดยกระบวนการวิจัยที่จะส่งผลทำให้นักเรียนได้เรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติจริง สืบเสาะหาความรู้และวิจัยด้วยตนเอง มีความกระตือรือร้น รู้สึกสนุก พึงพอใจและอยากมีส่วนในการปฏิบัติกิจกรรมเพิ่มขึ้น

สาขาวิชาพลศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี จึงได้เห็นความสำคัญของการจัดการเรียนการสอนให้มีความสอดคล้องและช่วยให้สามารถแก้ปัญหาในการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาด้วยกระบวนการวิจัย จึงได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมและแก้ปัญหาการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษาด้วยกระบวนการวิจัย ขึ้น

6. วัตถุประสงค์
 

          6.1 เพื่อให้ครูเกิดการเรียนรู้การแก้ปัญหาที่เกิดจากการจัดการเรียนรู้

          6.2 เพื่อพัฒนาการสอนของครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาให้มีทักษะในการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาในการจัดการเรียนรู้

7. พื้นที่ / ชุมชนเป้าหมาย
 

มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

8. กลุ่มโครงการบริการวิชาการ
  กลุ่ม 2 กลุ่มโครงการพัฒนาครู
9. ชุมชนเป้าหมายบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
  ภายนอกมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80)
- กลุ่มผู้ประกอบการ/บุคลากรด้านอุตสาหกรรมบริการ คน
- กลุ่มบุคลากรทางการศึกษา/องค์กรปกครองท้องถิ่น 35 คน
- กลุ่มอาชีพเกษตรกรในพื้นที่ คน
- กลุ่มชุมชนในพื้นที่ คน
- อื่นๆ (ระบุ) คน


ภายใมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (ไม่เกินร้อยละ 20)

- นักศึกษา คน
- อาจารย์ 5 คน
- อื่นๆ (ระบุ) คน
10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ เชิงปริมาณ / เชิงคุณภาพ
 

13.1 ผลผลิต

ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาในจังหวัดกาญจนบุรี มีความรู้ความเข้าใจการจัดการเรียนรู้และการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาและส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการวิจัย

13.2 ผลลัพธ์
ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาในจังหวัดกาญจนบุรีสามารถนำความรู้ความเข้าใจการสอนและการวิจัยเพื่อส่งเสริมและแก้ปัญหาการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพสู่ หลักสูตรระดับชั้นเรียนได้

13.3 ผลกระทบ
-

11. วิธีดำเนินการ
 

11.1 สถานที่ดำเนินการ

มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

 

11.2 แผนการดำเนิน

ขั้นตอนดำเนินการ
พ.ศ.25
พ.ศ.25
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
1. ขออนุมัติโครงการ
 
 
/
/
 
 
 
 
 
 
 
 
2. ดำเนินกิจกรรมโครงการ
 
 
 
 
/
/
/
 
 
 
 
 
3. ประเมินผล
 
 
 
 
 
 
 
/
 
 
 
 
4. รายงานผลการดำเนินงาน
 
 
 
 
 
 
 
 
/
 
 
 
5.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
6.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
7.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
8.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
9.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
10.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
11.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
12.                        
13.                        
14.                        
15.                        
12. งบประมาณ
 
รายการ
จำนวนเงิน
1. ค่าตอบแทน
28,800.00
2. ค่าใช้สอย
17,600.00
3. ค่าวัสดุ
13,600.00
 
รวมงบประมาณ
60,000
13. ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
 

มิติที่ 1 ความรู้ความเข้าใจของกลุ่มเป้าหมาย
ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิจัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80


มิติที่ 2 ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย

ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80


มิติที่ 3 การนำความรู้ไปใช้ของกลุ่มเป้าหมาย

ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้เกี่ยวการวิจัยไปใช้พัฒนาและส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ ได้อย่างถูกต้อง

ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80


14. การรายงานผลโดยโครงการ/กิจกรรมโดยภาพรวม
 

จัดส่งรายงานฉบับสมบูรณ์พร้อมหลักฐานที่เกี่ยวข้อง เช่น 1. โครงการที่ได้รับการอนุมัติ 2. คำสั่งแต่งตังคณะกรรมการดำเนินงานบริการวิชาการ 3. ใบลงนามของผู้เข้ารับบริการวิชาการโดยแยกประเภทบุคคลภายในและบุคคลภายนอก 4. ประมวลภาพกิจกรรม  5. การประเมินผล (ให้สอดคล้องกับเกณฑ์ กพร. และประกันคุณภาพภายใน) 6. สรุปผลโครงการ แนวทางในการนำผลมาปรับปรุง 7. เอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

  สถานะ การอนุมัติ วันที่ อนุมัติ * รูปแบบ วว/ดด/ปปปป เช่น 08/09/2558
          หมายเหตุ
  สถานะ การดำเนินการ วันที่ดำเนินโครงการ * รูปแบบ วว/ดด/ปปปป เช่น 08/09/2558
          หมายเหตุ
  แหล่งงบประมาณ กรณี อื่นๆ ระบุแหล่งเงิน
 
จำนวนเงินที่ขออนุมัติ 60000 บาท
ค่าใช้จ่าย บาท
คงเหลือ บาท
คืนมหาวิทยาลัย บาท
สาเหตุที่คืน