ระบบบริการวิชาการ
รายละเอียดโครงการ
1. ชื่อโครงการ บ่อดักไขมันตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจากวัสดุเหลือใช้
2. ข้อมูลพื้นฐานของโครงการ
     2.1 ประเภทโครงการ
      โครงการทั่วไป
      โครงการพิเศษตามนโยบายของมหาวิทยาลัย
      โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
     

2.2 ลักษณะโครงการ
    โครงการใหม่
    โครงการต่อเนื่อง ปีที่

3. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ / ภารกิจของหน่วยงาน
  ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยกระดับคุณภาพงานวิจัย การสร้างนวัตกรรมการนำไปใช้ประโยชน์ เพื่อยกระดับความเข็มแข็งของชุมชน และยกระดับคุณภาพชีวิตของท้องถิ่น
4. ผู้รับผิดชอบโครงการ
  4.1 ชื่อผู้รับผิดชอบโครงการ 
       หน่วยงาน :
4.2 หน่วยงานร่วม ภายใน ภายนอก

เทศบาลตำบลท่าล้อและเทศบาลตําบลลาดหญ้า อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี

5. หลักการและเหตุผล
 

ตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เรื่อง การจัดการคุณภาพน้ำ ซึ่งให้ความสำคัญกับการจัดการระบบบำบัดน้ำเสียในครัวเรือนและชุมชน ถือเป็นการช่วยลดปริมาณน้ำเสียที่ปล่อยทิ้งลงสู่แหล่งน้ำทางธรรมชาติ และเป็นการปรับปรุงคุณภาพน้ำให้มีคุณภาพดีขึ้น การติดตั้งถังดักไขมันหรือบ่อดักไขมันในครัวเรือน โรงอาหาร และภัตตาคาร เพื่อแยกระหว่างน้ำมันและไขมันออกจากน้ำเสียก่อนปล่อยทิ้งลงสู่แหล่งน้ำทางสาธารณะ ถือว่าเป็นแนวทางหนึ่งในการจัดการน้ำเสีย การอบรมเชิงปฏิบัติการ    “บ่อดักไขมันตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจากวัสดุเหลือใช้” จะช่วยให้ผู้ที่เกี่ยวข้องหรือประชาชนในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจมากขึ้นถึงปัญหาน้ำเสียที่เกิดขึ้นจากอาคารและสิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ และยังเป็นการจัดการน้ำเสียภายในชุมชนเอง เพื่อลดมลพิษตั้งแต่แหล่งกำเนิด รวมถึงสามารถสร้างถังดักไขมันอย่างง่ายเพื่อใช้เองในครัวเรือนต่อไป

6. วัตถุประสงค์
 

6.1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจถึงปัญหา และน้ำเสียที่เกิดจากอาคารต่าง ๆ ภายในชุมชน ที่ปล่อยไขมันลงสู่ท่อระบายน้ำ

6.2 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจถึงการจัดการน้ำเสียในครัวเรือน

6.3 เพื่อให้ผู้เข้ารับมีทักษะ สามารถสร้างถังดักไขมันอย่างง่าย จากวัสดุเหลือใช้เพื่อใช้เองในครัวเรือนได้

6.4 เพื่อปรับปรุงคุณภาพน้ำเสียจากชุมชน ก่อนปล่อยสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ

7. พื้นที่ / ชุมชนเป้าหมาย
 

ตำบลท่าล้อและตําบลลาดหญ้า อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี

8. กลุ่มโครงการบริการวิชาการ
  กลุ่ม 4 กลุ่มโครงารบริการวิชาการอื่นๆ (ตามความเชียวชาญ ของคณะ ศูนย์ สำนัก)
9. ชุมชนเป้าหมายบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
  ภายนอกมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80)
- กลุ่มผู้ประกอบการ/บุคลากรด้านอุตสาหกรรมบริการ 50 คน
- กลุ่มบุคลากรทางการศึกษา/องค์กรปกครองท้องถิ่น คน
- กลุ่มอาชีพเกษตรกรในพื้นที่ คน
- กลุ่มชุมชนในพื้นที่ คน
- อื่นๆ (ระบุ) คน


ภายใมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (ไม่เกินร้อยละ 20)

- นักศึกษา คน
- อาจารย์ คน
- อื่นๆ (ระบุ) คน
10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ เชิงปริมาณ / เชิงคุณภาพ
 

13.1 ผลผลิต
-บ่อดักไขมันจากวัสดุเหลือใช้

13.2 ผลลัพธ์
-ประชาชนในชุมชมมีความรู้ ความเข้าใจถึงการจัดการน้ำเสียในครัวเรือน และการสร้างถังดักไขมัน

13.3 ผลกระทบ

-น้ำเสียในชุมชนได้รับการบำบัดก่อนปล่อยสู่แหล่งน้ำ ทำให้สภาพแหล่งน้ำมีคุณภาพมากขึ้น

11. วิธีดำเนินการ
 

11.1 สถานที่ดำเนินการ

เทศบาลตำบลท่าล้อ และเทศบาลตําบล      ลาดหญ้า อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี

 

11.2 แผนการดำเนิน

ขั้นตอนดำเนินการ
พ.ศ.25
พ.ศ.25
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
1.สำรวจพื้นจัดโครงการ
'
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2.วางแผน/ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
'
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
3.ประชาสัมพันธ์
 
'
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
4.ดำเนินการอบรม
 
'
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
5.สำรวจ/ตรวจติดตามหลังการอบรม
 
 
'
 
 
 
 
 
 
 
 
 
6.สรุปผล/เผยแพร่
 
 
'
 
 
 
 
 
 
 
 
 
7.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
8.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
9.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
10.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
11.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
12.                        
13.                        
14.                        
15.                        
12. งบประมาณ
 
รายการ
จำนวนเงิน

1. ค่าตอบแทน

1)    ค่าตอบแทนวิทยากร

    -ค่าวิทยากรภายใน (4 คน*6 ชั่วโมง*300บาท*2ครั้ง)

14,400

2. ค่าใช้สอย

2.2   ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม(4 มื้อ*25บาท*50คน)

2.3 ค่าอาหารกลางวัน (2 มื้อ*60 บาท*50 คน)    

 

5,000

6,000

3. ค่าวัสดุ

    3.1 วัสดุสำนักงาน

     -ค่าถ่ายเอกสารพร้อมเข้าเล่ม (50 ชุด)

   3.2วัสดุโฆษณาและเผยแพร่

    3.3ชุดทดสอบคุณภาพน้ำภาคสนาม

- ชุดทดสอบกรด-ด่าง (5 ชุด) 

- ชุดทดสอบออกซิเจนละลายน้ำ (5 ชุด) 

- ชุดทดสอบความกระด้างของน้ำ (5 ชุด) 

- ชุดทดสอบสารโลหะหนักในน้ำทั้งหมดในน้ำ (2 ชุด)

3,500

 

1,000

 

25,250

รวมงบประมาณ
55,150

13. ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
 

มิติที่ 1 ความรู้ความเข้าใจของกลุ่มเป้าหมาย

-ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจถึงปัญหา และน้ำเสียที่เกิดจากอาคารต่าง ๆ ภายในชุมชน และสร้างบ่อดักไขมันจากวัสดุเหลือใช้ เพื่อนำไปปรับปรุงคุณภาพน้ำเสียในชุมชนก่อนปล่อยสู่แหล่งน้ำตามธรรมชาติ

มิติที่ 2 ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย
-ผู้เข้ารับการอบรม มีความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ ไม่น้อยกว่า       ร้อยละ 80

มิติที่ 3 การนำความรู้ไปใช้ของกลุ่มเป้าหมาย
-ผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80.


14. การรายงานผลโดยโครงการ/กิจกรรมโดยภาพรวม
 

14.1          ประชุมสรุปและประเมินผลการอบรมฯ เพื่อตอบสนองความต้องการ ในด้านการถ่ายทอดเทคโนโลยี และบริการวิชาการในชุมชนและท้องถิ่น

14.2          ติดตามผลการนำไปประยุกต์ใช้ประโยชน์  โดยการใช้เทคนิคการรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร (แบบติดตามผล)  หรือบุคคล  (โทรศัพท์)  ควบคู่กันซึ่งจะทำให้ได้ข้อมูลที่เที่ยงตรง  และสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับปัญหา/อุปสรรคของการนำไปใช้ประโยชน์  เพื่อให้มหาวิทยาลัยใช้เป็นข้อมูลประกอบการขอสนับสนุนงบประมาณต่อเนื่องในปีงบประมาณถัดไป ประเมินโครงการพร้อมทั้งสรุปรวบรวมความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ รวมทั้งประมวลภาพสรุป

  สถานะ การอนุมัติ วันที่ อนุมัติ 27/09/2560 * รูปแบบ วว/ดด/ปปปป เช่น 08/09/2558
          หมายเหตุ
  สถานะ การดำเนินการ วันที่ดำเนินโครงการ * รูปแบบ วว/ดด/ปปปป เช่น 08/09/2558
          หมายเหตุ
  แหล่งงบประมาณ กรณี อื่นๆ ระบุแหล่งเงิน
 
จำนวนเงินที่ขออนุมัติ 55150 บาท
ค่าใช้จ่าย บาท
คงเหลือ บาท
คืนมหาวิทยาลัย บาท
สาเหตุที่คืน