ระบบบริการวิชาการ
รายละเอียดโครงการ
1. ชื่อโครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างาน
2. ข้อมูลพื้นฐานของโครงการ
     2.1 ประเภทโครงการ
      โครงการทั่วไป
      โครงการพิเศษตามนโยบายของมหาวิทยาลัย
      โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
     

2.2 ลักษณะโครงการ
    โครงการใหม่
    โครงการต่อเนื่อง ปีที่

3. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ / ภารกิจของหน่วยงาน
  ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริม พัฒนาคุณภาพให้การบริการวิชาการและวิชาชีพ
4. ผู้รับผิดชอบโครงการ
  4.1 ชื่อผู้รับผิดชอบโครงการ 
       หน่วยงาน :
4.2 หน่วยงานร่วม ภายใน ภายนอก

สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัดกาญจนบุรี และสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัดกาญจนบุรี

5. หลักการและเหตุผล
 

ตามที่ประกาศกฎกระทรวงแรงงาน  เรื่องกำหนดมาตรฐานการบริการจัดการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2549  กำหนดให้นายจ้างดำเนินการในการบริหารและจัดการความปลอดภัย  อาชีวอนามัย  และสภาพแวดล้อมในการทำงาน  สมควรให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน  และคณะกรรมการความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมของสถานประกอบการ  รวมถึงประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม  เรื่องความปลอดภัยในการทำงานของลูกจ้าง  ลงวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2540  ที่นายจ้างหรือสถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างตั้งแต่50 คนขึ้นไป  ต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างาน  ระดับบริหาร  และระดับวิชาชีพ  ดังนั้นเพื่อให้การตอบสนองสถานประกอบกิจการต่อประกาศทางกฎหมายในเรื่องความปลอดภัยในการทำงาน  และเพื่อการส่งเสริมให้เกิดความปลอดภัยในการทำงานของบุคลากรในสถานประกอบกิจการ  อันหมายถึง  ความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยที่ดีในการทำงานของผู้ประกอบอาชีพในสาขาต่างๆ  ทั้งนี้เพื่อให้การดูแล  คุ้มครอง  ผู้ประกอบอาชีพในสาขาต่างๆ ได้ครอบคลุมกว้างขวางยิ่งขึ้นกว่าเดิม  เพื่อผลทั้งทางด้านเศรษฐกิจ  สังคม  จิตใจ  และสุขภาพอนามัยที่ดีของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน  การดูแลผู้ปฏิบัติงานในสาขาต่างๆ ทั้งสวัสดิการความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยนั้นเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง  โดยเฉพาะการผลิตในภาคอุตสาหกรรม  ซึ่งมีความเสี่ยงสูงในที่จะได้รับอันตรายในการทำงาน  หากการป้องกันไม่รัดกุมเพียงพอก็จะก่อให้เกิดความเสียหายทั้งผู้ปฏิบัติงาน  วัตถุดิบ และเครื่องจักรในการผลิต  ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้เจ้าหน้าที่หรือผู้ปฏิบัติงานได้รับการบาดเจ็บ  พิการ  หรือตาย  จากอุบัติเหตุจากการทำงาน (Occupational Accidents)  และเพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้มีการเสื่อมถอยของสุขภาพ  จนทำให้เกิดโรคหรือความเจ็บป่วยจากการทำงาน  หรือที่เรียกว่า  โรคที่เกิดจากการทำงาน (Occupational Disease)

สาขาวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (การจัดการอุตสหการ)คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม  มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรีจึงได้ร่วมมือกับสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน (ประเทศไทย)  ดำเนินการจัดอบรมหลักสูตร  เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างานขึ้น เพื่อพัฒนาบุคลากรในสถานประกอบกิจการที่ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัย  อาชีวอนามัย  ในระดับหัวหน้างาน  ให้มีความรู้  ความเข้าใจ  บทบาท  หน้าที่ความรับผิดชอบ  เกี่ยวกับข้อกำหนดมาตรฐานการบริหารจัดการด้านความปลอดภัย  อาชีวอนามัย  และสภาพแวดล้อมในการทำงานตามที่กฎหมายกำหนด

6. วัตถุประสงค์
 

6.1เพื่อพัฒนาบุคลากรในสถานประกอบกิจการที่ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัย  อาชีวอนามัย  ในระดับหัวหน้างาน  ให้มีความรู้  ความเข้าใจ  บทบาท  หน้าที่ความรับผิดชอบ  เกี่ยวกับข้อกำหนดมาตรฐานการบริหารจัดการด้านความปลอดภัย  อาชีวอนามัย  และสภาพแวดล้อมในการทำงานตามที่กฎหมายกำหนด

6.2เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดความปลอดภัยในการทำงานในสถานประกอบกิจการ

6.3เพื่อนำความรู้และประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการมาใช้ในการพัฒนา/บูรณาการการเรียนการสอนในรายวิชา 55028004 อาชีวอนามัยและความปลอดภัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม Occupational health and safety technology industry

7. พื้นที่ / ชุมชนเป้าหมาย
 

โรงงานอุตสาหกรรมภายในจังหวัดกาญจนบุรี

8. กลุ่มโครงการบริการวิชาการ
  กลุ่ม 4 กลุ่มโครงารบริการวิชาการอื่นๆ (ตามความเชียวชาญ ของคณะ ศูนย์ สำนัก)
9. ชุมชนเป้าหมายบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
  ภายนอกมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80)
- กลุ่มผู้ประกอบการ/บุคลากรด้านอุตสาหกรรมบริการ 30 คน
- กลุ่มบุคลากรทางการศึกษา/องค์กรปกครองท้องถิ่น คน
- กลุ่มอาชีพเกษตรกรในพื้นที่ คน
- กลุ่มชุมชนในพื้นที่ คน
- อื่นๆ (ระบุ) คน


ภายใมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (ไม่เกินร้อยละ 20)

- นักศึกษา คน
- อาจารย์ คน
- อื่นๆ (ระบุ) คน
10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ เชิงปริมาณ / เชิงคุณภาพ
 

13.1 ผลผลิต

-ผู้ประกอบการมีความรู้ ความเข้าใจความปลอดภัยในการทำงานในสถานประกอบกิจการ


13.2 ผลลัพธ์

-ผู้ประกอบการสามารถนำความรู้ที่ได้เข้าอบรมไปพัฒนาสถานประกอบการ เรื่องอันตรายจากการทำงาน สภาพแวดล้อมในการทำงาน และการจัดการจัดการสิ่งแวดล้อม 


13.3 ผลกระทบ

-โรงงานอุตสาหกรรมมาสามารถนำไปใช้ประโยชน์ ในพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงาน และเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตให้เทียบเท่ากับสากล โดยสามารถทำให้การผลิตมีคุณภาพเป็นที่พึงพอใจของผู้ซื้อ และยังร่วมไปถึงเรื่องอันตรายจากการทำงาน สภาพแวดล้อมในการทำงาน และการจัดการจัดการสิ่งแวดล้อม  

11. วิธีดำเนินการ
 

11.1 สถานที่ดำเนินการ

ห้องประชุมศรีภัฏ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

 

11.2 แผนการดำเนิน

ขั้นตอนดำเนินการ
พ.ศ.25
พ.ศ.25
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
1.สำรวจพื้นจัดโครงการ
.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2.วางแผน/ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
3.ประชาสัมพันธ์
 
.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
4.ดำเนินการอบรม
 
.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
5.สำรวจ/ตรวจติดตามหลังการอบรม
 
 
.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
6.สรุปผล/เผยแพร่
 
 
.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
7.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
8.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
9.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
10.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
11.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
12.                        
13.                        
14.                        
15.                        

12. งบประมาณ
 
รายการ
จำนวนเงิน

1. ค่าตอบแทน

1.1  ค่าตอบแทนวิทยากร

     -ค่าวิทยากรภายนอก  (1 คน*6 ชั่วโมง*600บาท*2วัน)

     -ค่าวิทยากรภายใน   (3 คน*6 ชั่วโมง*300บาท*2วัน)

18,000

2. ค่าใช้สอย

2.1ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (4 มื้อ*25บาท*30คน)

2.2ค่าอาหารกลางวัน (2 มื้อ*60 บาท*30คน)

 

3,000

3,600

3. ค่าวัสดุ

3.1 วัสดุสำนักงาน

     -ค่าถ่ายเอกสารพร้อมเข้าเล่ม (30 ชุด)

    3.4 วัสดุโฆษณาและเผยแพร่

    3.6 วัสดุอื่น ๆ  

 

 

2,100

1,000

5,300

รวมงบประมาณ
33,000

13. ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
 

มิติที่ 1 ความรู้ความเข้าใจของกลุ่มเป้าหมาย
-ผู้ประกอบการมีความรู้ ความเข้าใจความปลอดภัยในการทำงานในสถานประกอบกิจการ

มิติที่ 2 ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย

-  ผู้เข้ารับการอบรม มีความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ ไม่น้อยกว่า   ร้อยละ 80

มิติที่ 3 การนำความรู้ไปใช้ของกลุ่มเป้าหมาย
-  ผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80


14. การรายงานผลโดยโครงการ/กิจกรรมโดยภาพรวม
 

14.1          ประชุมสรุปและประเมินผลการอบรมฯ เพื่อตอบสนองความต้องการ ในด้านการถ่ายทอดเทคโนโลยี และบริการวิชาการในชุมชนและท้องถิ่น

14.2          ติดตามผลการนำไปประยุกต์ใช้ประโยชน์  โดยการใช้เทคนิคการรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร (แบบติดตามผล)  หรือบุคคล  (โทรศัพท์)  ควบคู่กันซึ่งจะทำให้ได้ข้อมูลที่เที่ยงตรง  และสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับปัญหา/อุปสรรคของการนำไปใช้ประโยชน์  เพื่อให้มหาวิทยาลัยใช้เป็นข้อมูลประกอบการขอสนับสนุนงบประมาณต่อเนื่องในปีงบประมาณถัดไป ประเมินโครงการพร้อมทั้งสรุปรวบรวมความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ รวมทั้งประมวลภาพสรุป

  สถานะ การอนุมัติ วันที่ อนุมัติ 27/09/2560 * รูปแบบ วว/ดด/ปปปป เช่น 08/09/2558
          หมายเหตุ
  สถานะ การดำเนินการ วันที่ดำเนินโครงการ * รูปแบบ วว/ดด/ปปปป เช่น 08/09/2558
          หมายเหตุ
  แหล่งงบประมาณ กรณี อื่นๆ ระบุแหล่งเงิน
 
จำนวนเงินที่ขออนุมัติ 33000 บาท
ค่าใช้จ่าย บาท
คงเหลือ บาท
คืนมหาวิทยาลัย บาท
สาเหตุที่คืน