ระบบบริการวิชาการ
รายละเอียดโครงการ
1. ชื่อโครงการ การอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากมะขามป้อม
2. ข้อมูลพื้นฐานของโครงการ
     2.1 ประเภทโครงการ
      โครงการทั่วไป
      โครงการพิเศษตามนโยบายของมหาวิทยาลัย
      โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
     

2.2 ลักษณะโครงการ
    โครงการใหม่
    โครงการต่อเนื่อง ปีที่

3. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ / ภารกิจของหน่วยงาน
  ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริม พัฒนาคุณภาพให้การบริการวิชาการและวิชาชีพ
4. ผู้รับผิดชอบโครงการ
  4.1 ชื่อผู้รับผิดชอบโครงการ 
       หน่วยงาน :
4.2 หน่วยงานร่วม ภายใน ภายนอก

เทศบาลตำบลท่าเสา และกลุ่มเกษตรกรผู้เพาะปลูกและแปรรูปมะขามป้อม

5. หลักการและเหตุผล
 

จากการที่องค์การบริหารส่วนตำบลท่าเสา อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี ได้แจ้งความประสงค์ให้มหาวิทยาลัยร่วมพัฒนาเชิงพื้นที่ของชุมชนฯ ในรูปแบบการบริการวิชาการ ซึ่งตรงกับพันธกิจของมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรีที่เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น คณะทำงานได้ลงสำรวจพื้นที่ และเปิดเวทีเสวนาร่วมกับแกนนำของชุมชนเพื่อรับทราบปัญหาต่างๆ ของชุมชน และลงพื้นที่สำรวจข้อมูลเบื้องต้น ทำให้ทราบว่า ชุมชนมีการรวมกลุ่มอาชีพพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรเช่น กล้วย มะขามป้อม ซึ่งในกลุ่มการพัฒนามะขามป้อมยังขาดทักษะในเรื่องหลักการและกระบวนการแปรรูปผลิตภัณฑ์ที่ถูกต้อง

ดังนั้นทางสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร จึงจะเข้าไปช่วยในการอบรมให้ความรู้พร้อมทั้งลงมือปฏิบัติเพื่อให้เกิดทักษะและความเข้าใจมากขึ้น

6. วัตถุประสงค์
 

6.1           เพื่อให้ความรู้เบื้องต้นหลักการแปรรูปที่ถูกต้อง

6.2           เพื่อปรับปรุงกระบวนการแปรรูปให้เหมาะสม

6.3 เพื่อให้เกิดความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน

7. พื้นที่ / ชุมชนเป้าหมาย
 

เทศบาลตำบลท่าเสา

8. กลุ่มโครงการบริการวิชาการ
  กลุ่ม 4 กลุ่มโครงารบริการวิชาการอื่นๆ (ตามความเชียวชาญ ของคณะ ศูนย์ สำนัก)
9. ชุมชนเป้าหมายบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
  ภายนอกมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80)
- กลุ่มผู้ประกอบการ/บุคลากรด้านอุตสาหกรรมบริการ คน
- กลุ่มบุคลากรทางการศึกษา/องค์กรปกครองท้องถิ่น คน
- กลุ่มอาชีพเกษตรกรในพื้นที่ 20 คน
- กลุ่มชุมชนในพื้นที่ คน
- อื่นๆ (ระบุ) คน


ภายใมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (ไม่เกินร้อยละ 20)

- นักศึกษา 5 คน
- อาจารย์ 5 คน
- อื่นๆ (ระบุ) คน
10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ เชิงปริมาณ / เชิงคุณภาพ
 

13.1 ผลผลิต
.1. เกษตรกรและผู้ที่สนใจเข้าร่วมได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการการแปรรูปที่ถูกต้อง

2. เกษตรกรและผู้ที่สนใจที่เข้าร่วมโครงการอบรมมีความพึงใจในการจัดโครงการครั้งนี้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90


13.2 ผลลัพธ์

      1. เกษตรกรและผู้ที่สนใจสามารถนำหลักการการแปรรูปอาหารไปประยุกต์ใช้ในกระบวนการผลิตไม่น้อยกว่าร้อยละ 95


13.3 ผลกระทบ

1. เกิดความตระหนักถึงความสำคัญในการผลิตผลิตภัณฑ์อาหารให้มีความปลอดภัยและผลักดันให้มาตรฐานมากขึ้น

11. วิธีดำเนินการ
 

11.1 สถานที่ดำเนินการ

เทศบาลตำบลท่าเสา

 

11.2 แผนการดำเนิน

ขั้นตอนดำเนินการ
พ.ศ.25
พ.ศ.25
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
1.จัดทำโครงการเพื่อประชาสัมพันธ์โครงการ
/
/
/
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2.ติดต่อประสานงานเพื่อเตรียมจัดโครงการฯ
/
/
/
 
 
 
 
 
 
 
 
 
3.ดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการฯ
 
 
 
/
/
/
 
 
 
 
 
 
4.สรุปผลการดำเนินงาน
 
 
 
/
/
/
 
 
 
 
 
 
5.ส่งรายงานผลการดำเนินงานโครงการฯ
 
 
 
/
/
/
 
 
 
 
 
 
6.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
7.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
8.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
9.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
10.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
11.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
12.                        
13.                        
14.                        
15.                        
12. งบประมาณ
 
รายการ
จำนวนเงิน
1. ค่าตอบแทน
10,800
2. ค่าใช้สอย
9,240
3. ค่าวัสดุ
4,960
รวมงบประมาณ
25,000

13. ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
 

มิติที่ 1 ความรู้ความเข้าใจของกลุ่มเป้าหมาย

ผู้เข้าร่วมได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบคุณภาพอาหารอยู่ในระดับดี(ร้อยละ90)


มิติที่ 2 ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย

1. ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ

ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการอยู่ในระดับดี(ร้อยละ90)

              2. ความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ

     ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการอยู่ในระดับดี(ร้อยละ90)

              3. ความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก

ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมด้านสิ่งอำนวยความสะดวกอยู่ในระดับดี(ร้อยละ90)

              4. ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการ

          ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมต่อคุณภาพการให้บริการอยู่ในระดับดี(ร้อยละ90

มิติที่ 3 การนำความรู้ไปใช้ของกลุ่มเป้าหมาย
ผู้เข้าร่วมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ได้จริงอยู่ในระดับดีมาก(ร้อยละ95


14. การรายงานผลโดยโครงการ/กิจกรรมโดยภาพรวม
 
  สถานะ การอนุมัติ วันที่ อนุมัติ * รูปแบบ วว/ดด/ปปปป เช่น 08/09/2558
          หมายเหตุ
  สถานะ การดำเนินการ วันที่ดำเนินโครงการ * รูปแบบ วว/ดด/ปปปป เช่น 08/09/2558
          หมายเหตุ
  แหล่งงบประมาณ กรณี อื่นๆ ระบุแหล่งเงิน
 
จำนวนเงินที่ขออนุมัติ 25000 บาท
ค่าใช้จ่าย บาท
คงเหลือ บาท
คืนมหาวิทยาลัย บาท
สาเหตุที่คืน