ระบบบริการวิชาการ
รายละเอียดโครงการ
1. ชื่อโครงการ เรียนรู้มรดกทางวัฒนธรรมของท้องถิ่น (ประวัติศาสตร์สัญจร)
2. ข้อมูลพื้นฐานของโครงการ
     2.1 ประเภทโครงการ
      โครงการทั่วไป
      โครงการพิเศษตามนโยบายของมหาวิทยาลัย
      โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
     

2.2 ลักษณะโครงการ
    โครงการใหม่
    โครงการต่อเนื่อง ปีที่

3. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ / ภารกิจของหน่วยงาน
  ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริม พัฒนาคุณภาพให้การบริการวิชาการและวิชาชีพ
4. ผู้รับผิดชอบโครงการ
  4.1 ชื่อผู้รับผิดชอบโครงการ 
       หน่วยงาน :
4.2 หน่วยงานร่วม ภายใน ภายนอก
5. หลักการและเหตุผล
 

มรดกทางวัฒนธรรม หมายถึง สิ่งปลูกสร้าง เรื่องราว ประวัติศาสตร์หรือวิถีชีวิตที่มีความเจริญงอกงามตั้งแต่ในอดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งจะเป็นสิ่งที่จับต้องได้ เช่น โบราณวัตถุและโบราณสถาน ร่องรอยของสิ่งปลูกสร้างทางประวัติศาสตร์ที่ยังคงทิ้งเอาไว้ให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาและเรียนรู้ เช่น ทางรถไฟสายมรณะ รวมไปถึงสิ่งที่จับต้องไม่ได้ดังเช่นเรื่องราวหรือเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นมาแล้วกระทบคนในชุมชนจนถึงในปัจจุบันเรื่องราวเหล่านั้นยังคงได้รับการถ่ายทอดออกมาจากรุ่นสู่รุ่น

จังหวัดกาญจนบุรีอุดมไปด้วยแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมที่สำคัญ เช่น แหล่งโบราณคดีบ้านเก่าเป็นแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมในสมัยก่อนประวัติศาสตร์เป็นแหล่งศึกษาและเรียนรู้รูปแบบการใช้ชีวิตของคนในสมัยก่อนที่จะมีตัวอักษรใช้ อุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมโบราณสมัยเขมรแห่งหนึ่งที่พบในประเทศไทย ซึ่งแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมทั้ง 2 แห่ง ขาดการเชื่อมโยงข้อมูลกับท้องถิ่น ขาดการเชื่อมโยงข้อมูลกับคนในชุมชน แต่เป็นแหล่งโบราณคดีที่ใช้ในการเชื่อมโยงข้อมูลทางประวัติศาสตร์ในระดับชาติ เมื่อมองถึงการเป็นสถานที่ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมที่จะสามารถศึกษาถึงวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของคนในท้องถิ่นกลับปรากฏว่า อำเภอสังขละบุรี เป็นสถานที่ที่นักท่องเที่ยวนิยมเดินทางไปศึกษามรดกทางวัฒนธรรมท้องถิ่นมากที่สุด

ดังนั้น เมื่อกระแสโลกาภิวัฒน์และการเปลี่ยนแปลงในระบบทุนนิยมได้เข้ามา จึงเกิดการแสวงหาการธำรงรักษามรดกทางวัฒนธรรมดั้งเดิมเอาไว้มากที่สุด ซึ่งในจังหวัดกาญจนบุรีเองก็ยังมีชุมชนที่รักษาแบบแผนวิถีวัฒนธรรมเอาไว้อยู่ เช่น ชุมชนปากแพรก ในเขตอำเภอเมืองกาญจนบุรี และชุมชนตลาดเก่าท่าม่วงในเขตอำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี เป็นต้น

ประกอบกับคณาจารย์รายวิชาวิถีไทยได้รับทุนการวิจัยประจำปีงบประมาณ 2560 ในหัวข้อ การศึกษาแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมในชุมชนลุ่มแม่น้ำแม่กลองตอนบนกับความสัมพันธ์ของวิถีชีวิตคนในท้องถิ่น อีกทั้งผลจากการจัดโครงการประวัติศาสตร์สัญจรในปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ได้รับผลการประเมินโครงการจากผู้เข้าร่วมในระดับ ดี ผู้เข้าร่วมโครงการมีข้อเสนอแนะให้จัดโครงการเช่นนี้อีกทุกปี รวมไปถึงแผนพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี ยุทธศาสตร์ที่ 4 กลยุทธที่ 4.1 เน้นเรื่องการสร้างเครือข่ายความร่วมมือของมหาวิทยาลัยในการให้บริการแก่ชุมชนและท้องถิ่น ในมาตรการที่ 1 สร้างกระบวนการเรียนรู้คนในสังคม จึงได้ทำการบูรณาการงานวิจัยกับงานบริการวิชาการซึ่งเป็นการนำความรู้ที่ได้จากงานวิจัยไปเผยแพร่และถ่ายทอดให้กับชุมชนอีกด้วย

6. วัตถุประสงค์
 

1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้เข้าใจและตระหนักถึงประวัติความเป็นมาของแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมของชุมชน

2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้นำองค์ความรู้ที่ได้จากโครงการไปพัฒนาต่อยอดในการใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางวัฒนธรรมของชุมชนต่อไป

7. พื้นที่ / ชุมชนเป้าหมาย
 

ประชาชนในพื้นที่ชุมชนตลาดเก่าท่าม่วง

8. กลุ่มโครงการบริการวิชาการ
  กลุ่ม 4 กลุ่มโครงารบริการวิชาการอื่นๆ (ตามความเชียวชาญ ของคณะ ศูนย์ สำนัก)
9. ชุมชนเป้าหมายบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
  ภายนอกมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80)
- กลุ่มผู้ประกอบการ/บุคลากรด้านอุตสาหกรรมบริการ คน
- กลุ่มบุคลากรทางการศึกษา/องค์กรปกครองท้องถิ่น คน
- กลุ่มอาชีพเกษตรกรในพื้นที่ คน
- กลุ่มชุมชนในพื้นที่ คน
- อื่นๆ (ระบุ) ประชาชนทั่วไปที่อยู่อาศัยในพื้นที่ชุมชนตลาดเก่าท่าม่วง 50 คน


ภายใมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (ไม่เกินร้อยละ 20)

- นักศึกษา 10 คน
- อาจารย์ คน
- อื่นๆ (ระบุ) คน
10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ เชิงปริมาณ / เชิงคุณภาพ
 

13.1 ผลผลิต
ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ ๘๐ มีความรู้และความเข้าใจถึงประวัติความเป็นมาของแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมในชุมชน


13.2 ผลลัพธ์

1. ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าใจถึงความสำคัญในอดีตของแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมของชุมชน

 2. ผู้เข้าร่วมโครงการได้เกิดความรักและหวงแหนแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมในฐานะที่เป็นทรัพยากรทางวัฒนธรรมของชุมชน


13.3 ผลกระทบ

1. แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมของชุมชนท่าม่วง ได้รับการอนุรักษ์และดูแลจากคนในชุมชน

2. มีการนำแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมไปใช้ต่อยอดในกิจกรรมของชุมชนมาก

11. วิธีดำเนินการ
 

11.1 สถานที่ดำเนินการ

ชุมชนตลาดเก่าท่าม่วง

 

11.2 แผนการดำเนิน

ขั้นตอนดำเนินการ
พ.ศ.25
พ.ศ.25
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
1.เสนอโครงการ
 
/
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2.จัดเตรียมข้อมูลและเนื้อหาสำหรับการบริการวิชาการ
 
 
/
/
 
 
 
 
 
 
 
 
3.ประชาสัมพันธ์โครงการ
 
 
/
/
 
 
 
 
 
 
 
 
4.ดำเนินงานโครงการ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
4.1 ให้ความรู้เกี่ยวกับแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม
 
 
 
 
/
 
 
 
 
 
 
 
4.2 ลงพื้นที่ภาคสนาม
 
 
 
 
/
 
 
 
 
 
 
 
4.3 ติดตามผล
 
 
 
 
 
 
/
 
 
 
 
 
5. สรุปผลและรายงานผลโครงการ
 
 
 
 
 
 
 
/
 
 
 
 
12. งบประมาณ
 

รายการ

จำนวนเงิน (บาท)

กิจกรรมที่ 1: อบรมเชิงปฏิบัติการแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมท่าม่วง

1. ค่าตอบแทน

(ให้ระบุรายละเอียดจำนวนคน/จำนวนวัน/อัตราที่ขอตั้งค่าตอบแทน)

 

 

1.1 ค่าตอบแทนวิทยากร

 

          - ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน คนละ 6 ชั่วโมง/วัน ชั่วโมงละ 300 บาท จำนวน 2 วัน

10,800

2. ค่าใช้สอย  

(ให้ระบุรายละเอียดจำนวนคน/จำนวนวัน/อัตราที่ขอตั้งค่าใช้สอย)

 

 

2.1 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

6,000

1)              - อาหารว่าง 60 คน คนละ 4 มื้อ มื้อละ 25 บาท                      

 

2.2 ค่าอาหารเช้า/กลางวัน/เย็น

9,600

- อาหารกลางวัน 60 คน คนละ 80 บาท จำนวน 2 มื้อ

 

2.3 วัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่น

2,000

3. ค่าวัสดุ  (ให้ระบุรายละเอียด)

 

3.1 วัสดุสำนักงาน

4,600

          - เช่น ปากกา, ดินสอ, ลิขวิด, สมุดโน้ต, แฟ้มใส่เอกสาร, กระดาษ A4 

 

3.3 วัสดุโฆษณาและเผยแพร่

2,000

          - ป้ายประชาสัมพันธ์โครงการและแผ่นพับประชาสัมพันธ์โครงการ      

 

 3.5 ค่าเอกสาร

3,000

- ค่าจัดทำเอกสารประกอบการสัมมนา/ ติดตามประเมินผล

 

3.6 หมวกและกระเป๋าใส่เอกสารสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการ

4,000

รวมเป็นเงิน

42,000

กิจกรรมที่ 2: การเผยแพร่องค์ความรู้แหล่งมรดกทางวัฒนธรรมท่าม่วง

1. ค่าตอบแทน

(ให้ระบุรายละเอียดจำนวนคน/จำนวนวัน/อัตราที่ขอตั้งค่าตอบแทน)

 

 

1.1 ค่าตอบแทนวิทยากร

5,400

- ค่าตอบแทนวิทยากร 3 คน คนละ 6 ชั่วโมง/วัน ชั่วโมงละ 300 บาท จำนวน 1 วัน

 

2. ค่าใช้สอย    

(ให้ระบุรายละเอียดจำนวนคน/จำนวนวัน/อัตราที่ขอตั้งค่าใช้สอย)

 

 

2.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

3,000

- อาหารว่าง 60 คน คนละ 2 มื้อ มื้อละ 25 บาท                 

 

2.3 ค่าอาหารเช้า/กลางวัน/เย็น

4,800

- อาหารกลางวัน 60 คน คนละ 80 บาท จำนวน 1 มื้อ

 

3. ค่าวัสดุ  (ให้ระบุรายละเอียด)

 

3.1 วัสดุสำนักงาน

2,300

     - ปากกาเคมี, กระดาษพรู๊ฟ, กระดาษ A4

 

3.2 วัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่น

1,000

- ค่าน้ำมัน                                                  

 

 3.5 ค่าเอกสาร

1,500

- ค่าจัดทำเอกสารประกอบการสัมมนา/ ติดตามประเมินผล

 

รวมเป็นเงิน

18,000

รวมงบประมาณทั้งหมด

60,000 

13. ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
 

มิติที่ 1 ความรู้ความเข้าใจของกลุ่มเป้าหมาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมของชุมชนท่าม่วงและนำความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่ให้คนรุ่นหลังได้รับรู้และรับทราบต่อไป

 

มิติที่ 2 ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย

             1. ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ

ระดับดี

             2. ความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ

ระดับดี

             3. ความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก

ระดับดี

             4. ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการ

ระดับดี


มิติที่ 3 การนำความรู้ไปใช้ของกลุ่มเป้าหมาย

                 3.1 ผู้รับบริการมีการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

                      ผู้รับบริการไม่น้อยกว่าร้อยละ  85 สามารถนำองค์ความรู้ที่ได้จากการอบรมไปเผยแพร่ให้คนรุ่นหลังได้รับรู้และรับทราบต่อไได้

                 3.2 ความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อประโยชน์จากการบริการวิชาการ

               ผู้รับบริการไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 มีความพึงพอใจต่อประโยชน์จากการบริการวิชาการอยู่ในระดับดี


14. การรายงานผลโดยโครงการ/กิจกรรมโดยภาพรวม
 
  สถานะ การอนุมัติ วันที่ อนุมัติ * รูปแบบ วว/ดด/ปปปป เช่น 08/09/2558
          หมายเหตุ
  สถานะ การดำเนินการ วันที่ดำเนินโครงการ * รูปแบบ วว/ดด/ปปปป เช่น 08/09/2558
          หมายเหตุ
  แหล่งงบประมาณ กรณี อื่นๆ ระบุแหล่งเงิน
 
จำนวนเงินที่ขออนุมัติ บาท
ค่าใช้จ่าย บาท
คงเหลือ บาท
คืนมหาวิทยาลัย บาท
สาเหตุที่คืน