ระบบบริการวิชาการ
รายละเอียดโครงการ
1. ชื่อโครงการ การสร้างมูลค่าจากวัสดุเหลือใช้
2. ข้อมูลพื้นฐานของโครงการ
     2.1 ประเภทโครงการ
      โครงการทั่วไป
      โครงการพิเศษตามนโยบายของมหาวิทยาลัย
      โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
     

2.2 ลักษณะโครงการ
    โครงการใหม่
    โครงการต่อเนื่อง ปีที่

3. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ / ภารกิจของหน่วยงาน
  ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริม พัฒนาคุณภาพให้การบริการวิชาการและวิชาชีพ
4. ผู้รับผิดชอบโครงการ
  4.1 ชื่อผู้รับผิดชอบโครงการ 
       หน่วยงาน :
4.2 หน่วยงานร่วม ภายใน ภายนอก
5. หลักการและเหตุผล
 

กรมควบคุมมลพิษ (คพ.) สรุปสถานการณ์มลพิษประเทศไทย ในปี 2559 พบว่า สถานการณ์คุณภาพน้ำส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์พอใช้ คุณภาพน้ำทะเลชายฝั่งอยู่ในเกณฑ์ดี คุณภาพอากาศในภาพรวม แนวโน้มค่าเฉลี่ยฝุ่นละอองในช่วง 10 ปี ดีขึ้นและเริ่มอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ขณะที่สถานการณ์การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย ขยะมูลฝอยชุมชนเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 190,000 ตัน

จากการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และการเพิ่มขึ้นของประชากรได้ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านสภาวะแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาขยะซึ้งนับวันจะรุนแรงกว้างขวางมากยิ่งขึ้นทั้งในระดับชุมชน เขตเมือง และระดับประเทศ แม้ว่าปัจจุบันรัฐบาลได้มีการกระจายอำนาจการบริหารงานเรื่องขยะและสิ่งปฏิกูลให้แก่องค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่นในการควบคุม ดูแล และจัดการ ตามบทบังคับของกฎหมาย พรบ. เทศบาล พ.ศ. 25496 และ พรบ. สภาตำบลและองค์กรบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 ได้กำหนดให้องค์กรส่วนท้องถิ่นต้องทำหน้าที่รักษาความสะอาดของถนน ทางเท้า ทางเดิน และที่สาธารณะ รมทั้งกำจัดขยะและสิ่งปฏิกูล แต่การบริหารจัดการขยะในเขตการปกครองส่วนท้องถิ่น ยังเป็นปัญหาที่ยิ่งใหญ่และนับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น ซึ่งเป็นผลมาจากการขยายตัวของชุมชน การเพิ่มขึ้นของประชาการในเขตชุมชน พฤติกรรมการบริโภคของประชาชน ตลอดจนข้อจำกัดด้านทรัพยากรที่นำมาใช้ในการบริหารจัดการขยะในชุมชน และการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติยังมีอุปสรรคปัญหามากมาย ซึ่งไม่สามารถนำไปสู่การปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมที่ชัดเจนได้ ในปัจจุบัน วิธีการกำจัดขยะโดยทั่วไปประกอบด้วย 2 วิธีหลักคือ การกลบฝังอย่างถูกสุขลักษณะ และการเผาในเตาเผาขยะ หรือบางแห่งกำจัดขยะโดยใช้วิธีเทกองบนพื้นที่ว่างหรือในหลุม ปล่อยให้ย่อยสลายตามธรรมชาติหรือเผาทิ้ง ซึ่งเป็นวิธีกำจัดที่ไม่ถูกต้องและถูกหลักวิชาการ ซึ่งวิธีการกำจัดขยะที่แพร่หลายมากที่สุดคือ การกลบฝังอย่างถูกสุขลักษณะเพราะมีค่าใช้จ่ายต่ำ แต่การหาพื้นที่สำหรับเป็นสถานที่กลบฝังขยะมีแนวโน้มหายากขึ้นเป็นลำดับ

          จากข้อมูลดังกล่าวทางหลักสูตรการจัดการโลจิสติกส์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี จึงพิจารณาจัดโครงการการสร้างมูลค่าจากวัสดุเหลือใช้ เพื่อสร้างและถ่ายทอดการสร้างเครื่องรีดเส้นพลาสติก

6. วัตถุประสงค์
 

6.1 เพื่อสร้างเครื่องรีดเส้นพลาสติก

6.2 เพื่อถ่ายทอดการสร้างเครื่องรีดเส้นพลาสติก

6.3 เพื่อถ่ายทอดการสร้างสิ่งประดิษฐ์จากเส้นพลาสติก

7. พื้นที่ / ชุมชนเป้าหมาย
 
8. กลุ่มโครงการบริการวิชาการ
  กลุ่ม 4 กลุ่มโครงารบริการวิชาการอื่นๆ (ตามความเชียวชาญ ของคณะ ศูนย์ สำนัก)
9. ชุมชนเป้าหมายบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
  ภายนอกมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80)
- กลุ่มผู้ประกอบการ/บุคลากรด้านอุตสาหกรรมบริการ 30 คน
- กลุ่มบุคลากรทางการศึกษา/องค์กรปกครองท้องถิ่น คน
- กลุ่มอาชีพเกษตรกรในพื้นที่ คน
- กลุ่มชุมชนในพื้นที่ คน
- อื่นๆ (ระบุ) คน


ภายใมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (ไม่เกินร้อยละ 20)

- นักศึกษา คน
- อาจารย์ คน
- อื่นๆ (ระบุ) คน
10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ เชิงปริมาณ / เชิงคุณภาพ
 

13.1 ผลผลิต

เครื่องรีดเส้นพลาสติก และสิ่งประดิษฐ์จากเส้นพลาสติก

13.2 ผลลัพธ์

ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถประยุกต์ใช้เครื่องรีดเส้นพลาสติก และสร้างสิ่งประดิษฐ์จากเส้นพลาสติกได้

13.3 ผลกระทบ
รายได้เสริมการสิ่งประดิษฐ์จากเส้นพลาสติก

11. วิธีดำเนินการ
 

11.1 สถานที่ดำเนินการ

มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

 

11.2 แผนการดำเนิน

ขั้นตอนดำเนินการ
พ.ศ.25
พ.ศ.25
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
1. วางแผนการดำเนินโครงการ
/
/
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2. ประชาสัมพันธ์และรับสมัคร ผู้เข้าร่วมโครงการ
 
/
/
 
 
 
 
 
 
 
 
 
3. ดำเนินโครงการ
 
/
/
 
 
 
 
 
 
 
 
 
4. รายงานผลการดำเนินโครงการ
 
 
 
/
 
 
 
 
 
 
 
 
5. ติดตามผลการดำเนินโครงการ
 
 
 
 
/
 
 
 
 
 
 
 
                         
12. งบประมาณ
 

รายการ

จำนวนเงิน

1. ค่าตอบแทน

     ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน

     (4 คน * 300 บาท * 2 วัน * 6 ชั่วโมง)

14,400

2. ค่าวัสดุดำเนินโครงการ เช่น

วัสดุสำหรับประดิษฐ์เครื่องรีดเส้นพลาสติก

วัสดุสาธิตการประดิษฐ์เครื่องรีดเส้นพลาสติก

เอกสารคู่มือการประดิษฐ์เครื่องรีดเส้นพลาสติก จำนวน 30 เล่ม

เอกสารคู่มือการสร้างสิ่งประดิษฐ์จากเส้นพลาสติก จำนวน 30 เล่ม

กระดาษ ขนาด A4

กรรไกร

คัตเตอร์

วัสดุตกแต่ง

25,600

5,500

10,000

1,500

 

1,500

 

1,000

250

350

5,500

รวมงบประมาณ

20,000

13. ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
 

มิติที่ 1 ความรู้ความเข้าใจของกลุ่มเป้าหมาย
ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการสร้างเครื่องรีดเส้นพลาสติก และสามารถสร้างสิ่งประดิษฐ์จากเส้นพลาสติก

มิติที่ 2 ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90

มิติที่ 3 การนำความรู้ไปใช้ของกลุ่มเป้าหมาย

ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพเสริมได้

14. การรายงานผลโดยโครงการ/กิจกรรมโดยภาพรวม
 

รายงานผลการดำเนินโครงการการสร้างมูลค่าจากวัสดุเหลือใช้

  สถานะ การอนุมัติ วันที่ อนุมัติ * รูปแบบ วว/ดด/ปปปป เช่น 08/09/2558
          หมายเหตุ
  สถานะ การดำเนินการ วันที่ดำเนินโครงการ * รูปแบบ วว/ดด/ปปปป เช่น 08/09/2558
          หมายเหตุ
  แหล่งงบประมาณ กรณี อื่นๆ ระบุแหล่งเงิน
 
จำนวนเงินที่ขออนุมัติ 20000 บาท
ค่าใช้จ่าย บาท
คงเหลือ บาท
คืนมหาวิทยาลัย บาท
สาเหตุที่คืน