ระบบบริการวิชาการ
รายละเอียดโครงการ
1. ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพด้านการอ่านอักษรขอมไทยแก่พระสังฆาธิการในจังหวัดกาญจนบุรีเพื่อเป็นผู้ดูแลและอนุรักษ์เอกสารโบราณของวัดในจังหวัดกาญจนบุรี
2. ข้อมูลพื้นฐานของโครงการ
     2.1 ประเภทโครงการ
      โครงการทั่วไป
      โครงการพิเศษตามนโยบายของมหาวิทยาลัย
      โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
     

2.2 ลักษณะโครงการ
    โครงการใหม่
    โครงการต่อเนื่อง ปีที่

3. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ / ภารกิจของหน่วยงาน
  ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริม พัฒนาคุณภาพให้การบริการวิชาการและวิชาชีพ
4. ผู้รับผิดชอบโครงการ
  4.1 ชื่อผู้รับผิดชอบโครงการ 
       หน่วยงาน :
4.2 หน่วยงานร่วม ภายใน ภายนอก
5. หลักการและเหตุผล
 

ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร ได้เริ่มสำรวจภูมิภาคตะวันตกเป็นพื้นที่แรก โดยได้ทำการสำรวจงานวรรณกรรมพื้นบ้านที่มีการบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ในเขต 8 จังหวัดของภูมิภาคตะวันตก ได้แก่ กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สุพรรณบุรี นครปฐม สมุทรสาคร และสมุทรสงคราม ซึ่งประกอบด้วยวัด ประมาณ 760 แห่งโครงการสำรวจวรรณกรรมท้องถิ่นภาคกลางเริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2541 จากข้อมูลดังกล่าว พบว่าในจังหวัดกาญจนบุรี ได้พบจำนวนเอกสารโบราณที่บันทึกลงในในลานและสมุดไทยมากถึง 521 เรื่อง โดยแบ่งเป็น กฎหมาย ตำรายา พุทธศาสนา ลัทธิพิธีกรรม โหราศาสตร์และการคำนวณ ไสยศาสตร์ จริยศาสตร์และคำสอนรวมถึงวรรณกรรม และปกิณกะต่าง ๆ โดยกระจายอยู่ในวัดสำคัญต่าง ๆ ในจังหวัดกาญจนบุรี

เอกสารโบราณเหล่านั้นจัดเป็นเอกสารชั้นต้นที่ให้ประโยชน์ต่อการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องราวของบรรพชน บ่งบอกความเคลื่อนไหวของอารยธรรม และค่านิยมแห่งสังคมในกลุ่มชนโบราณแต่ละยุคสมัยทุกภูมิภาคของประเทศ อีกทั้งยังเป็นประโยชน์ในการศึกษาวิชาการด้านประวัติศาสตร์ โบราณคดี อักษรศาสตร์ ภาษาศาสตร์ อักขรวิธี ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และเรื่องอื่นๆ อันเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่ของกลุ่นชนในอดีต(สำนักหอสมุดแห่งชาติ, 2552ก)  เป็นเอกสารโบราณที่บันทึกเรื่องราวโดยการจาร (เขียนด้วยเหล็กแหลมคม) ตัวหนังสือลงบนใบของต้นลาน ใบลานจะใช้จารทั้งสองด้าน เมื่อจารจบเรื่องแล้วจะใช้สายสนองร้อยเข้าเป็นผูก มีอายุมากกว่าร้อยปี ถ้าเก็บรักษาไม่ถูกต้องตามหลักวิชา จะทำให้เสื่อมสภาพอันเนื่องจากภัยธรรมชาติ เช่น ความชื้น ความร้อน เป็นต้น หรือถูกพวกสัตว์ประเภทหนูและแมลงกัดกินเสียหายได้ แต่ที่ทำความเสียหายให้กับหนังสือใบลานมากที่สุดกลับเป็นมนุษย์ ทั้งโดยเจตนาและไร้เจตนา ที่เจตนาคือนำไปขายให้ต่างชาติที่ไร้เจตนาคือนำไปเผาหรือป่นเป็นมวลสารเพื่อใช้ในการสร้างพระผงบูชา (สำนักหอสมุดแห่งชาติ, 2552ก)

                       ในจังหวัดกาญจนบุรี ได้พบจำนวนเอกสารโบราณที่บันทึกลงในในลานและสมุดไทยมากถึง 521 เรื่อง โดยแบ่งเป็น กฎหมาย ตำรายา พุทธศาสนา ลัทธิพิธีกรรม โหราศาสตร์และการคำนวณ ไสยศาสตร์ จริยศาสตร์และคำสอน รวมถึงวรรณกรรม และปกิณกะ  ต่าง ๆ ซึ่งกระจายอยู่ในวัดต่าง ๆ ทั่วจังหวัดกาญจนบุรี เช่นวัดเทวสังฆาราม วัดไชยชุมพลชนะสงคราม และวัดศรีอุปลารามเป็นต้น

ปัจจุบันนี้การอนุรักษ์หนังสือใบลานนั้นได้รับความสนใจดูแลทั้งภายในประเทศและสากล แต่ในด้านการศึกษาค้นคว้าเนื้อหาในหนังสือใบลานนั้นยังมีน้อยมาก เนื่องจากหนังสือเหล่านี้บันทึกด้วยอักษรโบราณ บุคลากรผู้มีความรู้ความสามารถในด้านนี้นับวันจะขาดแคลน ตลอดจนไม่มีการส่งเสริมให้มีการศึกษาทางด้านนี้เท่าที่ควร จึงยังคงมีหนังสือใบลานที่ไม่ได้รับการศึกษาตกค้างอยู่เป็นจำนวนมาก

                        ผู้จัดทำโครงการจึงต้องการจะพัฒนาศักยภาพด้านการอ่านอักษรขอมไทยแก่พระสังฆาธิการในจังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งเป็นเจ้าของเอกสารเหล่านั้น เพื่อให้รู้วิธีอ่าน และสามารถถอดความเนื้อหาของเอกสารโบราณเหล่านั้นได้ ซึ่งจะทำให้พระสังฆาธิการที่ได้รับการอบรมสามารถดูแลและรักษาเอกสารโบราณที่มีอยู่ในวัดได้อย่างเหมาะสม และสามารถถอดความพระธรรมคำสอนหรือเรื่องอื่น ๆ ที่จารในเอกสารโบราณ เพื่อเผยแพร่แก่พุทธศาสนิกชนต่อไป

6. วัตถุประสงค์
 
7.1. เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการอ่านเอกสารโบราณแก่พระสังฆาธิการในจังหวัดกาญจนบุรี
7.2. เพื่อให้พระสังฆาธิการตระหนักและเห็นคุณค่าของเอกสารโบราณภายในวัดของตน สามารถดูแลรักษาและอนุรักษ์ให้คงอยู่ตลอดไป

7.1.เพื่อพัฒนาศักยภาพด้านการอ่านเอกสารโบราณแก่พระสังฆาธิการในจังหวัดกาญจนบุรี

          7.2. เพื่อให้พระสังฆาธิการตระหนักและเห็นคุณค่าของเอกสารโบราณภายในวัดของตน สามารถดูแลรักษาและอนุรักษ์ให้คงอยู่ตลอดไป

7. พื้นที่ / ชุมชนเป้าหมาย
 
8. กลุ่มโครงการบริการวิชาการ
  กลุ่ม 4 กลุ่มโครงารบริการวิชาการอื่นๆ (ตามความเชียวชาญ ของคณะ ศูนย์ สำนัก)
9. ชุมชนเป้าหมายบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
  ภายนอกมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80)
- กลุ่มผู้ประกอบการ/บุคลากรด้านอุตสาหกรรมบริการ คน
- กลุ่มบุคลากรทางการศึกษา/องค์กรปกครองท้องถิ่น คน
- กลุ่มอาชีพเกษตรกรในพื้นที่ คน
- กลุ่มชุมชนในพื้นที่ คน
- อื่นๆ (ระบุ) พระสังฆาธิการในจังหวัดกาญจนบุรี 40 คน


ภายใมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (ไม่เกินร้อยละ 20)

- นักศึกษา 5 คน
- อาจารย์ 4 คน
- อื่นๆ (ระบุ) คน
10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ เชิงปริมาณ / เชิงคุณภาพ
 

10.1 ด้านผลผลิต (output)

   นักศึกษาและอาจารย์มีการบริการวิชาการด้านภาษาไทยและให้องค์ความรู้เพื่ออนุรักษ์และพัฒนาท้องถิ่น

       10.2 ด้านผลลัพธ์ (outcome)

            นักศึกษาและอาจารย์มีประสบการณ์ในด้านการบริการวิชาการและเป็นการเพิ่มพูนองค์ความรู้ด้านภาษาไทยเพื่อใช้ในการเรียนการสอน 

      10.3 ด้านผลกระทบ (impact) 

11. วิธีดำเนินการ
 

11.1 สถานที่ดำเนินการ

มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

 

11.2 แผนการดำเนิน

ขั้นตอนดำเนินการ
พ.ศ.2561
พ.ศ.2562
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
1. ประชุมเพื่อวางแผนการจัดโครงการ
 
/
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2.เสนอโครงการเพื่ออนุมัติ
 
 
/
 
 
 
 
 
 
 
 
 
3.ดำเนินกิจกรรมโครงการ
 
 
 
/
/
 
 
 
 
 
 
 
4.ประเมินผลการจัดกิจกรรม
 
 
 
 
 
/
 
 
 
 
 
 
5.รายงานผลการดำเนินการโครงการ
 
 
 
 
 
/
 
 
 
 
 
 
6.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
7.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
8.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
9.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
10.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
11.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
12.                        
13.                        
14.                        
15.                        
12. งบประมาณ
 

รายการ
จำนวนเงิน

1. ค่าตอบแทน

    -ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน  4 คน จำนวน  12 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท

เป็นเงิน 14,400 บาท

14,400

2. ค่าใช้สอย

-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับพระสังฆาธิการ นักศึกษา และอาจารย์ จำนวน 53 รูป/คนๆ ละ 4มื้อๆ ละ 25 บาทเป็นเงิน5,300 บาท

-ค่าอาหารกลางวันสำหรับนักเรียน นักศึกษา และอาจารย์ จำนวน 53 รูป/คน ๆ ละ 2มื้อๆ ละ 60 บาทเป็นเงิน 5,760บาท

11,660

3. ค่าวัสดุ

     -วัสดุสำนักงานอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมและค่าถ่ายเอกสารสำเนาและ    เข้ารูปเล่มพร้อมปกสีเป็นเงิน 10,000บาทn>เป็นเงิน 5,760บาท

10,000
รวมงบประมาณ
36,060
13. ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
 

มิติที่ 1 ความรู้ความเข้าใจของกลุ่มเป้าหมาย

-พระสังฆาธิการที่เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการอ่านอักษรขอมไทยที่ปรากฏอยู่ในวัดของตนเอง สามารถที่จะดูแล รักษา อนุรักษ์ และอ่านพระธรรมคำสอนหรือเรื่องอื่น ๆ ที่ปรากฏในเอกสารโบราณได้ เพื่อนำหลักธรรมไปเผยแพร่แก่พุทธศาสนิกชนต่อไป

        มิติที่ 2 ด้านความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย 4 ประเด็น

                  1. ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ

                     -ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

                  2. ความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ

                     -ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

                  3. ความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก

                     -ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

                  4. ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการ

                     -ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

 

        มิติที่ 3 การนำความรู้ไปใช้ของกลุ่มเป้าหมาย

 -ผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

-ผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95

-ความพึงพอใจของผู้รับบริการที่รับริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ           ร้อยละ 90

14. การรายงานผลโดยโครงการ/กิจกรรมโดยภาพรวม
 
  สถานะ การอนุมัติ วันที่ อนุมัติ * รูปแบบ วว/ดด/ปปปป เช่น 08/09/2558
          หมายเหตุ
  สถานะ การดำเนินการ วันที่ดำเนินโครงการ * รูปแบบ วว/ดด/ปปปป เช่น 08/09/2558
          หมายเหตุ
  แหล่งงบประมาณ กรณี อื่นๆ ระบุแหล่งเงิน
 
จำนวนเงินที่ขออนุมัติ 36060 บาท
ค่าใช้จ่าย บาท
คงเหลือ บาท
คืนมหาวิทยาลัย บาท
สาเหตุที่คืน