ระบบบริการวิชาการ
รายละเอียดโครงการ
1. ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นและการควบคุมหุ่นยนต์อัตโนมัติขนาดเล็กสำหรับครูที่สอนการศึกษาขั้นพื้นฐาน”
2. ข้อมูลพื้นฐานของโครงการ
     2.1 ประเภทโครงการ
      โครงการทั่วไป
      โครงการพิเศษตามนโยบายของมหาวิทยาลัย
      โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
     

2.2 ลักษณะโครงการ
    โครงการใหม่
    โครงการต่อเนื่อง ปีที่

3. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ / ภารกิจของหน่วยงาน
  ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริม พัฒนาคุณภาพให้การบริการวิชาการและวิชาชีพ
4. ผู้รับผิดชอบโครงการ
  4.1 ชื่อผู้รับผิดชอบโครงการ 
       หน่วยงาน :
4.2 หน่วยงานร่วม ภายใน ภายนอก
5. หลักการและเหตุผล
 

ด้วยสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้เล็งเห็นประโยชน์ของการนำหุ่นยนต์มาเป็นสื่อและเครื่องมือในการพัฒนาการเรียนการสอน และให้ความสำคัญกับการพัฒนาการคิดสร้างสรรค์ และการออกแบบเทคโนโลยี ได้มีการประกวดและแข่งขันหุ่นยนต์ สพฐ. งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน เป็นประจำทุกปี  เป็นเกมการประกวดแข่งขันที่เน้นการพัฒนาทักษะการคิด การออกแบบเสร้างสรรค์เป็น หุ่นยนต์/ สิ่งประดิษฐ์ การนำความรู้ด้านอิเล็กทรอนิกส์ กลศาสตร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาบูรณาการกับสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศิลปะ และสาระการเรียนรู้อื่น ๆ โดยใช้หุ่นยนต์เป็นสื่อ ซึ่งมีการกำหนดโจทย์ให้สร้างหุ่นยนต์เพื่อทำภารกิจตามที่กำหนด จึงเป็นการนำความรู้จากสาระต่างๆ มาหลอมรวมเป็นความคิดในการออกแบบสร้างสรรค์เป็นหุ่นยนต์และวางแผนให้หุ่นยนต์ทำงานตามจินตนาการ  โดยเริ่มจากการนำวัสดุพื้นบ้านที่มีอยู่ทั่วไป ผสมผสานความรู้ทางช่าง เทคนิค ทางกล แมคาทอนิก มาสร้างเป็นหุ่นยนต์บังคับมือ ซึ่งเป็นพื้นฐานเบื้องต้นสำหรับผู้เริ่มต้นหรือสร้างเป็นหุ่นยนต์อัตโนมัติเพื่อให้ทำภารกิจตามโจทย์กำหนดในการแข่งขันเพื่อให้ผู้เรียนได้สนุกสนาน ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในการเขียนปรแกรมควบคุมให้หุ่นยนต์ทำงานตามความต้องการ ซึ่งเป็นการเรียนรู้ขั้นสูงขึ้นตามลำดับ และยังมีกิจกรรมที่ต่อยอดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะ ความสามารถและศักยภาพผู้เรียนจากการประกวดโครงงานหุ่นยนต์ ซึ่งตัดสินที่หุ่นยนต์สามารถทำงานได้จริงตามจินตนาการ จึงเป็นการพัฒนาครู นักเรียนทั้งด้านความรู้ที่นำไปสู่การปฏิบัติจริง และพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน เช่น การทำงานเป็นทีม การช่างสังเกต การฝึกความอดทน ความพยายาม มุ่งมั่น รู้จักวางแผนการทำงานจะช่วยกระตุ้นและส่งเสริมให้เกิด การเรียนรู้แบบบูรณาการ เกิดแรงบันดาลใจที่ประดิษฐ์ สร้างสรรค์ผลงาน การออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ในลักษณะต่าง ๆ เพื่อเสริมความเข้มแข็งทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้กับนักเรียนและเยาวชนของชาติ

           จากการสอบถามครูที่สอนการศึกษาขั้นพื้นฐาณในเขตพื้นที่จังหวัดกาญจนบุรีพบว่ามีต้องการความรู้เพิ่มเติมในด้านอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นและการควบคุมหุ่นยนต์อัตโนมัติขนาดเล็ก เพื่อนำความรู้ที่ขาด ไปเติมเต็มให้กับนักเรียนในโรงเรียน   สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญนี้จึงได้จัดโครงการบริการวิชาการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นและการควบคุมหุ่นยนต์อัตโนมัติขนาดเล็กสำหรับครูที่สอนการศึกษาขั้นพื้นฐาณ”ขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการแก่ครูที่สอนการศึกษาขั้นพื้นฐาณในเขตพื้นที่จังหวัดกาญจนบุรี

6. วัตถุประสงค์
 

1. เพื่อให้ครูผู้สอน ที่สนใจได้พัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญด้วยหุ่นยนต์ และโครงงาน

2. เพื่อให้ครูผู้สอน ตระหนัก และเห็นความสำคัญของการนำสื่อหุ่นยนต์ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และบูรณาการตามแนวทางสะเต็มศึกษา

 3. เพื่อพัฒนาทักษะ ความสามารถของครู นักเรียนด้านการควบคุมหุ่นยนต์และการพัฒนาสิ่งประดิษฐ์ทางวิศวกรรม

7. พื้นที่ / ชุมชนเป้าหมาย
 

โรงเรียนในจังหวัดกาญจนบุรี

8. กลุ่มโครงการบริการวิชาการ
  กลุ่ม 4 กลุ่มโครงารบริการวิชาการอื่นๆ (ตามความเชียวชาญ ของคณะ ศูนย์ สำนัก)
9. ชุมชนเป้าหมายบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
  ภายนอกมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80)
- กลุ่มผู้ประกอบการ/บุคลากรด้านอุตสาหกรรมบริการ คน
- กลุ่มบุคลากรทางการศึกษา/องค์กรปกครองท้องถิ่น 40 คน
- กลุ่มอาชีพเกษตรกรในพื้นที่ คน
- กลุ่มชุมชนในพื้นที่ คน
- อื่นๆ (ระบุ) คน


ภายใมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (ไม่เกินร้อยละ 20)

- นักศึกษา คน
- อาจารย์ คน
- อื่นๆ (ระบุ) คน
10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ เชิงปริมาณ / เชิงคุณภาพ
 

10.1 ด้านผลผลิต (output)

   ครูที่สอนการศึกษาขั้นพื้นฐาณในจังหวัดกาญจนบุรีเข้าร่วมโครงการบริการวิชาการ

       10.2 ด้านผลลัพธ์ (outcome)

           1. ครูผู้สอน ได้พัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญด้วยหุ่นยนต์ และโครงงาน

           2. ครูผู้สอน ตระหนัก และเห็นความสำคัญของการนำสื่อหุ่นยนต์ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และบูรณาการตามแนวทางสะเต็มศึกษา

       10.3 ด้านผลกระทบ (impact) 

11. วิธีดำเนินการ
 

11.1 สถานที่ดำเนินการ

มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

11.2 แผนการดำเนิน

ขั้นตอนดำเนินการ
พ.ศ.2561
พ.ศ.2562
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
1. ประชุมเพื่อวางแผนการจัดโครงการ
 
 
 
/
 
 
 
 
 
 
 
 
2. เสนอโครงการเพื่ออนุมัติ
 
 
 
 
/
 
 
 
 
 
 
 
3. ดำเนินกิจกรรมโครงการ
 
 
 
 
 
 
/
 
 
 
 
 
4.ประเมินผลการจัดกิจกรรม
 
 
 
 
 
 
/
 
 
 
 
 
5.รายงานผลการดำเนินการโครงการ
 
 
 
 
 
 
/
 
 
 
 
 
6.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
7.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
8.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
9.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
10.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
11.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
12.                        
13.                        
14.                        
15.                        
12. งบประมาณ
 

รายการ
จำนวนเงิน

1. ค่าตอบแทน

-ค่าตอบแทนวิทยากรภายนอกจำนวน 2 คน ๆ ละ 12 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 14,400 บาท

     -ค่าตอบแทนวิทยากรภายในจำนวน 3 คน ๆ ละ 12 ชั่วโมงๆละ 300 บาท เป็นเงิน 10,800 บาท

     

 

25,200

2. ค่าใช้สอย

     -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรม  จำนวน 44 คน ๆ ละ 4 มื้อ ๆ ละ 25 บาท            เป็นเงิน 4,400 บาท

     -ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 44 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 60 บาท

เป็นเงิน 5,280 บาท

9,680

3. ค่าวัสดุ

 -วัสดุสำนักงาน อุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นและการควบคุมหุ่นยนต์อัตโนมัติขนาดเล็กสำหรับครูที่สอนการศึกษาขั้นพื้นฐาณ”เป็นเงิน 55,000บาท

 

55,000
รวมงบประมาณ
89,880
13. ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
 

มิติที่ 1 ความรู้ความเข้าใจของกลุ่มเป้าหมาย

-          ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญด้วยหุ่นยนต์ และโครงงานตระหนัก และเห็นความสำคัญของการนำสื่อหุ่นยนต์ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และบูรณาการตามแนวทางสะเต็มศึกษา

 

        มิติที่ 2 ด้านความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย 4 ประเด็น

                  1. ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ

                     -ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

                  2. ความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ

                     -ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

                  3. ความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก

                     -ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

                  4. ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการ

                     -ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

 

        มิติที่ 3 การนำความรู้ไปใช้ของกลุ่มเป้าหมาย

-ผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95

-ความพึงพอใจของผู้รับบริการที่รับริการวิชาการและวิชาชีพต่อประโยชน์จากการบริการ           ร้อยละ 90

14. การรายงานผลโดยโครงการ/กิจกรรมโดยภาพรวม
 
  สถานะ การอนุมัติ วันที่ อนุมัติ * รูปแบบ วว/ดด/ปปปป เช่น 08/09/2558
          หมายเหตุ
  สถานะ การดำเนินการ วันที่ดำเนินโครงการ * รูปแบบ วว/ดด/ปปปป เช่น 08/09/2558
          หมายเหตุ
  แหล่งงบประมาณ กรณี อื่นๆ ระบุแหล่งเงิน
 
จำนวนเงินที่ขออนุมัติ 89880 บาท
ค่าใช้จ่าย บาท
คงเหลือ บาท
คืนมหาวิทยาลัย บาท
สาเหตุที่คืน