ระบบบริการวิชาการ
รายละเอียดโครงการ
1. ชื่อโครงการ โครงการบริการวิชาการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยบรรจุภัณฑ์”
2. ข้อมูลพื้นฐานของโครงการ
     2.1 ประเภทโครงการ
      โครงการทั่วไป
      โครงการพิเศษตามนโยบายของมหาวิทยาลัย
      โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
     

2.2 ลักษณะโครงการ
    โครงการใหม่
    โครงการต่อเนื่อง ปีที่

3. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ / ภารกิจของหน่วยงาน
  ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริม พัฒนาคุณภาพให้การบริการวิชาการและวิชาชีพ
4. ผู้รับผิดชอบโครงการ
  4.1 ชื่อผู้รับผิดชอบโครงการ 
       หน่วยงาน :
4.2 หน่วยงานร่วม ภายใน ภายนอก

เทศบาลตำบลหนองบัว

5. หลักการและเหตุผล
 

หากสำรวจปริมาณสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ตามท้องตลาดในปัจจุบัน พบว่ามีผลิตภัณฑ์หลากหลายประเภทและมาจากหลากหลายแหล่งผลิต สินค้าหรือผลิตภัณฑ์ชนิดเดียวกันมีมากกว่า 2 แบรนด์ขึ้นไป ที่วางจำหน่ายบนชั้นสินค้าเคียงคู่กัน สินค้าแต่ละแบรนด์จำเป็นต้องแย่งชิงส่วนแบ่งการครองใจผู้บริโภคจากการสร้างจุดขายด้านต่าง ๆ อาทิ ผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ จำหน่ายในราคาที่เป็นมิตร มีช่องทางการจัดจำหน่ายที่หลากหลาย และมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการตลาดต่าง ๆ อย่างครบวงจร เช่น การลดราคา มีของแถม การจัดบูธจำหน่ายสินค้า ฯลฯ

เช่นเดียวกันกับผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นหรือสินค้าชุมชน ที่มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นจากผู้ผลิตในแต่ละชุมชน เนื่องจากได้รับการส่งเสริมจากภาครัฐ เพื่อเป็นการนำทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาบริหารจัดการโดยคนในชุมชนและจัดจำหน่ายเพื่อสร้างรายได้ให้แก่ชุมชน ปัจจุบันผลิตภัณฑ์ชุมชนเริ่มเป็นที่รู้จักและเป็นที่นิยมในหมู่นักท่องเที่ยวมากขึ้น เนื่องจากราคาจับต้องได้ สามารถหาซื้อได้จากท้องถิ่นนั้น ๆ ทั้งจากร้านขายของฝาก ศูนย์ OTOP แหล่งท่องเที่ยวต่างๆ นอกจากนี้ยังสามารถหาซื้อผลิตภัณฑ์ชุมชนบางอย่างได้จากห้างสรรพสินค้าหรือแหล่งซื้อขายออนไลน์ ทำให้ผลิตภัณฑ์ชุมชนสามารถเข้าถึงผู้บริโภคได้ง่ายยิ่งขึ้น

แต่การทำให้ผลิตภัณฑ์ชุมชนเป็นที่รู้จักไปในวงกว้าง หรือได้รับการติดต่อเพื่อไปวางจำหน่ายตามห้างร้านต่าง ๆ นั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้ประกอบการต้องทำผลิตภัณฑ์ของตนให้มีคุณภาพมาตรฐาน และมีการบริหารจัดการผลิตภัณฑ์ที่ดี นั่นคือ ตราสินค้าต้องเป็นสากล และสร้างจุดเด่นอื่น ๆ ให้กับผลิตภัณฑ์ชุมชน เช่น การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้มีความโดดเด่น มีเอกลักษณ์ แสดงถึงอัตลักษณ์ของชุมชน หรือท้องถิ่น เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผลิตภัณฑ์ชุมชนนั้น ๆ ในการแข่งขันกับผลิตภัณฑ์ชุมชนอื่นได้อย่างเต็มศักยภาพ

 หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี เล็งเห็นความสำคัญของเรื่องดังกล่าว กอรปกับทางชุมชนหนองบัวมีความต้องการที่จะพัฒนาบรรจุภัณฑ์ของตนอยู่แล้ว จึงได้จัดโครงการบริการวิชาการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยบรรจุภัณฑ์” ให้แก่เจ้าของผลิตภัณฑ์ชุมชน บุคลากรทั้งภาครัฐและเอกชน รวมถึงบุคคลทั่วไปที่สนใจเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ของตนเอง ทั้งในพื้นที่ชุมชนหนองบัวและใกล้เคียง เพื่อเป็นการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของผู้เข้าร่วมโครงการฯ ให้สามารถสร้างตราสินค้าของตนเองที่โดดเด่นและแตกต่างจากคู่แข่งรายอื่นได้ ทั้งยังเป็นการถ่ายทอดความรู้ทางวิชาการ เทคนิคการออกแบบบรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์ชุมชน บูรณาการความรู้ด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ชุมชนจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องโดยวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ ให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ และสามารถฝึกปฏิบัติได้ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการต่อยอดผลิตภัณฑ์ชุมชนของตนเองให้มีมูลค่ามากยิ่งขึ้น

6. วัตถุประสงค์
 

6.1 เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของผู้เข้าร่วมโครงการฯ ให้สามารถสร้างตราสินค้าของตนเองได้

6.2 เพื่อให้ผู้ที่เข้าร่วมโครงการฯ สามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมโครงการฯ ไปใช้ประโยชน์ในการต่อยอดผลิตภัณฑ์ชุมชนให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น

6.3 เพื่อถ่ายทอดเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการ รวมถึงเทคนิคต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานด้านนิเทศศาสตร์ ให้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ และสามารถฝึกปฏิบัติได้

              6.4 เพื่อเป็นการให้บริการวิชาการแก่สังคมจากแหล่งเรียนรู้ที่มีความพร้อม ทั้งบุคลากรที่มากด้วยความรู้ความสามารถ และเครื่องมือ-อุปกรณ์ที่ทันสมัย

7. พื้นที่ / ชุมชนเป้าหมาย
 

เทศบาลตำบลหนองบัว

8. กลุ่มโครงการบริการวิชาการ
  กลุ่ม 4 กลุ่มโครงารบริการวิชาการอื่นๆ (ตามความเชียวชาญ ของคณะ ศูนย์ สำนัก)
9. ชุมชนเป้าหมายบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
  ภายนอกมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80)
- กลุ่มผู้ประกอบการ/บุคลากรด้านอุตสาหกรรมบริการ คน
- กลุ่มบุคลากรทางการศึกษา/องค์กรปกครองท้องถิ่น 5 คน
- กลุ่มอาชีพเกษตรกรในพื้นที่ คน
- กลุ่มชุมชนในพื้นที่ 20 คน
- อื่นๆ (ระบุ) พนักงานบริษัทเอกชน 5 คน


ภายใมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (ไม่เกินร้อยละ 20)

- นักศึกษา คน
- อาจารย์ คน
- อื่นๆ (ระบุ) คน
10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ เชิงปริมาณ / เชิงคุณภาพ
 

13.1 ผลผลิต

มีผู้สนใจเข้าร่วมโครงการฯ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80


13.2 ผลลัพธ์

ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีความรู้เกี่ยวกับการสร้างแบรนด์ การสร้างสรรค์บรรจุภัณฑ์ และสามารถนำความรู้ไปต่อยอดเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ชุมชนของตนได้   


13.3 ผลกระทบ

ผลิตภัณฑ์ชุมชนหนองบัวเป็นที่รู้จัก และมีบรรจุภัณฑ์ที่สวยงาม สามารถเทียบเท่าชุมชนอื่น ๆ ได้

11. วิธีดำเนินการ
 

11.1 สถานที่ดำเนินการ

เทศบาลตำบลหนองบัว อำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี

 

11.2 แผนการดำเนิน

ขั้นตอนดำเนินการ
พ.ศ.2561
พ.ศ.2562
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
1.ประชาสัมพันธ์โครงการฯ
/
/
/
/
/
 
 
 
 
 
 
 
2.เตรียมการโครงการฯ
 
 
 
 
/
/
/
 
 
 
 
 
3.จัดโครงการฯ
 
 
 
 
 
 
/
/
 
 
 
 
4.รายงานผลการดำเนินงาน
 
 
 
 
 
 
 
 
/
 
 
 
5.การติดตามผล
 
 
 
 
 
 
 
 
 
/
/
/
6.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
7.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
8.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
9.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
10.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
11.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
12.                        
13.                        
14.                        
15.                        
12. งบประมาณ
 
รายการ
จำนวนเงิน
1. ค่าตอบแทน
12,600
2. ค่าใช้สอย
3,900
3. ค่าวัสดุ
28,500
รวมงบประมาณ
45,000
13. ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
 

มิติที่ 1 ความรู้ความเข้าใจของกลุ่มเป้าหมาย

-  ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจ  ........ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80……….....


มิติที่ 2 ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย

-   ไม่น้อยกว่าร้อยละ .................85.........................


มิติที่ 3 การนำความรู้ไปใช้ของกลุ่มเป้าหมาย

-  ผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ .......90.......


14. การรายงานผลโดยโครงการ/กิจกรรมโดยภาพรวม
 

แบบสำรวจ

  สถานะ การอนุมัติ วันที่ อนุมัติ * รูปแบบ วว/ดด/ปปปป เช่น 08/09/2558
          หมายเหตุ รอการอนุมัติ
  สถานะ การดำเนินการ วันที่ดำเนินโครงการ * รูปแบบ วว/ดด/ปปปป เช่น 08/09/2558
          หมายเหตุ
  แหล่งงบประมาณ กรณี อื่นๆ ระบุแหล่งเงิน
 
จำนวนเงินที่ขออนุมัติ 45000 บาท
ค่าใช้จ่าย บาท
คงเหลือ บาท
คืนมหาวิทยาลัย บาท
สาเหตุที่คืน