ระบบบริการวิชาการ
รายละเอียดโครงการ
1. ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาครูประจำการระดับประถมศึกษาที่สอนไม่ตรงวุฒิวิชาภาษาไทย
2. ข้อมูลพื้นฐานของโครงการ
     2.1 ประเภทโครงการ
      โครงการทั่วไป
      โครงการพิเศษตามนโยบายของมหาวิทยาลัย
      โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
     

2.2 ลักษณะโครงการ
    โครงการใหม่
    โครงการต่อเนื่อง ปีที่

3. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ / ภารกิจของหน่วยงาน
  ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริม พัฒนาคุณภาพให้การบริการวิชาการและวิชาชีพ
4. ผู้รับผิดชอบโครงการ
  4.1 ชื่อผู้รับผิดชอบโครงการ 
       หน่วยงาน :
4.2 หน่วยงานร่วม ภายใน ภายนอก
5. หลักการและเหตุผล
 

การจัดการศึกษาของไทยนั้น เน้นการกระจายอำนาจและเสริมสร้างความเท่าเทียมกันทางการศึกษา มีการผลิตครูที่ตรงตามวุฒิหลากหลายสาขาวิชาเพื่อทำหน้าที่สอนและพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน อย่างไรก็ตามในความเป็นจริงนั้น โรงเรียนในระดับประถมศึกษาขาดแคลนครูที่มีวุฒิตรงในการสอนแต่ละรายวิชา โดยครู 1 คนต้องทำหน้าที่สอนเกือบทุกวิชา ทำให้คุณภาพของการเรียนการสอนลดต่ำลง โดยเฉพาะรายวิชาภาษาไทย ซึ่งเป็นวิชาพื้นฐานแต่นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ในการเรียนต่ำ เป็นผลสิบเนื่องมาจากการที่ครูขาดความรู้ความเข้าใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ตามเนื้อหาของหลักภาษา การใช้ภาษา และวรรณคดีวรรณกรรม

           สาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์ เป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่ในการผลิตครูภาษาไทย ที่มีคุณภาพ รวมทั้งเป็นผู้นำในการพัฒนาวิชาชีพครู เห็นถึงความสำคัญของพัฒนาศักยภาพของครูผู้สอนรายวิชาภาษาไทย แต่ไม่ได้จบตรงตามวุฒิ จึงได้จัดโครงการบริการวิชาการการพัฒนาครูประจำการระดับประถมศึกษาที่สอนไม่ตรงวุฒิวิชาภาษาไทยขึ้น

6. วัตถุประสงค์
 

6.1 เพื่อพัฒนาความสามารถของครูประประจำการระดับประถมศึกษาที่สอนไม่ตรงวุฒิวิชาภาษาไทย ให้มีความรู้ความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทย

7. พื้นที่ / ชุมชนเป้าหมาย
 

โรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดกาญจนบุรี

8. กลุ่มโครงการบริการวิชาการ
  กลุ่ม 4 กลุ่มโครงารบริการวิชาการอื่นๆ (ตามความเชียวชาญ ของคณะ ศูนย์ สำนัก)
9. ชุมชนเป้าหมายบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
  ภายนอกมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80)
- กลุ่มผู้ประกอบการ/บุคลากรด้านอุตสาหกรรมบริการ คน
- กลุ่มบุคลากรทางการศึกษา/องค์กรปกครองท้องถิ่น 40 คน
- กลุ่มอาชีพเกษตรกรในพื้นที่ คน
- กลุ่มชุมชนในพื้นที่ คน
- อื่นๆ (ระบุ) คน


ภายใมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (ไม่เกินร้อยละ 20)

- นักศึกษา คน
- อาจารย์ 4 คน
- อื่นๆ (ระบุ) คน
10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ เชิงปริมาณ / เชิงคุณภาพ
 

 10.1 ด้านผลผลิต (output)

   ครูสอนภาษาไทยในระดับประถมศึกษาเข้าร่วมโครงการบริการวิชาการ

       10.2 ด้านผลลัพธ์ (outcome)

            ครูภาษาไทยในระดับประถมศึกษาที่เข้าร่วมโครงการมีความสามารถในจัดกิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชาภาษาไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ

       10.3 ด้านผลกระทบ (impact) 

11. วิธีดำเนินการ
 

11.1 สถานที่ดำเนินการ

มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

11.2 แผนการดำเนิน

ขั้นตอนดำเนินการ
พ.ศ.2561
พ.ศ.2562
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.

1.ประชุมเพื่อวางแผนการจัดโครงการ

 
 
 
/
 
 
 
 
 
 
 
 
2.เสนอโครงการเพื่ออนุมัติ
 
 
 
 
/
 
 
 
 
 
 
 
3.ดำเนินกิจกรรมโครงการ
 
 
 
 
 
 
/
 
 
 
 
 
4.ประเมินผลการจัดกิจกรรม
 
 
 
 
 
 
/
 
 
 
 
 
5.รายงานผลการดำเนินการโครงการ
 
 
 
 
 
 
/
 
 
 
 
 
6.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
7.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
8.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
9.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
10.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
11.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
12.                        
13.                        
14.                        
15.                        
12. งบประมาณ
 
รายการ
จำนวนเงิน

1. ค่าตอบแทน

-ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน จำนวน 4 คน ๆ ละ 12 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 14,400 บาท

14,400

2. ค่าใช้สอย

    -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรม  จำนวน44คนๆละ 4มื้อๆละ 25 บาท                       เป็นเงิน4,400บาท

-ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 44คน  คนละ 2มื้อๆละ 60 บาทเป็นเงิน 5,280บาท

- ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงในการเดินทางไปนิเทศเพื่อติดตามผลการพัฒนา จำนวน 15,000 บาท

24,680

3. ค่าวัสดุ

     -วัสดุสำนักงานอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมและค่าถ่ายเอกสารสำเนาและเข้ารูปเล่มพร้อมปกสีเป็นเงิน 15,000บาท

 

15,000
รวมงบประมาณ
54,080
13. ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
 

มิติที่ 1 ความรู้ความเข้าใจของกลุ่มเป้าหมาย

-ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจหลักการ และกระบวนการในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ

        มิติที่ 2 ด้านความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย 4 ประเด็น

                  1. ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ

                     -ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

                  2. ความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ

                     -ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

                  3. ความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก

                     -ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

                  4. ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการ

                     -ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

        มิติที่ 3 การนำความรู้ไปใช้ของกลุ่มเป้าหมาย

 -ผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

14. การรายงานผลโดยโครงการ/กิจกรรมโดยภาพรวม
 
  สถานะ การอนุมัติ วันที่ อนุมัติ * รูปแบบ วว/ดด/ปปปป เช่น 08/09/2558
          หมายเหตุ
  สถานะ การดำเนินการ วันที่ดำเนินโครงการ * รูปแบบ วว/ดด/ปปปป เช่น 08/09/2558
          หมายเหตุ
  แหล่งงบประมาณ กรณี อื่นๆ ระบุแหล่งเงิน
 
จำนวนเงินที่ขออนุมัติ 54080 บาท
ค่าใช้จ่าย บาท
คงเหลือ บาท
คืนมหาวิทยาลัย บาท
สาเหตุที่คืน