ระบบบริการวิชาการ
รายละเอียดโครงการ
1. ชื่อโครงการ อบรมปฏิบัติการ เรื่อง การให้คำปรึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยภาวะใกล้ตายและญาติ
2. ข้อมูลพื้นฐานของโครงการ
     2.1 ประเภทโครงการ
      โครงการทั่วไป
      โครงการพิเศษตามนโยบายของมหาวิทยาลัย
      โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
     

2.2 ลักษณะโครงการ
    โครงการใหม่
    โครงการต่อเนื่อง ปีที่

3. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ / ภารกิจของหน่วยงาน
  ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริม พัฒนาคุณภาพให้การบริการวิชาการและวิชาชีพ
4. ผู้รับผิดชอบโครงการ
  4.1 ชื่อผู้รับผิดชอบโครงการ 
       หน่วยงาน :
4.2 หน่วยงานร่วม ภายใน ภายนอก
5. หลักการและเหตุผล
 

การตายเป็นสัจธรรมและเป็นสิ่งแน่นอนสำหรับทุกชีวิต แต่น้อยคนนักที่จะเตรียมตัวเตรียมใจรับมือกับความตาย เพราะชีวิตของผู้คนส่วนใหญ่มักให้ความสำคัญกับการทำมาหากินและการแสวงหาความสุข  เราอาจใช้เวลาทั้งชีวิตของเรานับพันนับหมื่นชั่วโมงเพื่อจับจ่ายซื้อของที่ถูกใจ  ท่องอินเตอร์เน็ต  สนทนากับเพื่อน  และท่องเที่ยวไปสถานที่ต่าง ๆ ฯลฯ  โดยไม่เคยสนใจที่จะเตรียมตนให้พร้อมเผชิญกับความตายหรือภาวะใกล้ตาย เมื่อล้มป่วยและเข้าสู่ระยะสุดท้ายของชีวิตส่วนใหญ่จึงประสบกับความทุกข์ทรมานอย่างแสนสาหัสทั้งกายและใจ  มีผู้คนจำนวนไม่น้อยที่พยายามต่อสู้กับความตายอย่างถึงที่สุด โดยการฝากความหวังไว้กับเทคโนโลยีและความก้าวหน้าทางการแพทย์ทุกชนิด แต่กลับพบว่าการพยายามยืดชีวิตนั้นบ่อยครั้งกลับกลายเป็นการยืดการตายหรือภาวะใกล้ตายให้ยาวนานออกไป โดยช่วงเวลาเหล่านั้นมักเต็มไปด้วยความทุกข์ทรมานทั้งกายและใจ สูญสิ้นศักดิ์ศรีและคุณค่าของความเป็นมนุษย์

แม้ว่าเราไม่อาจกำหนดหรือทำนายได้ว่าจะตายเมื่อใดและตายแล้วจะไปไหน แต่เมื่อวาระใกล้ตายมาถึง ทุกคนต่างก็ปรารถนาที่จะตายดีและตายอย่างสงบ  การขาดความความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการตาย และการเปลี่ยนแปลงต่างๆทั้งทางร่างกาย อารมณ์ความรู้สึกและภาวะต่างๆที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยภาวะใกล้ตายเป็นสิ่งที่ทั้งผู้ป่วยภาวะใกล้ตายและญาติสามารถเรียนรู้ได้  การเข้าใจและเรียนรู้ที่จะยอมรับกระบวนการตายจะนำไปสู่ความผ่อนคลายและการต่อต้านความกลัวและความทุกข์ทั้งหลายที่จะเกิดขึ้น และนำมาสู่การใช้เวลาที่ยังเหลืออยู่ของผู้ป่วยภาวะใกล้ตายอย่างมีคุณค่าและพร้อมสำหรับเดินทางไปสู่ภพภูมิใหม่

 การช่วยเหลือทางจิตใจผู้ป่วยภาวะใกล้ตายโดยกระบวนการของการให้คำปรึกษา  เพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีและจากไปอย่างสงบ  เป็นหนทางหนึ่งในการช่วยเหลือเยียวยาและพัฒนาจิตวิญญาณของผู้ป่วยให้มีความสุขสงบก่อนตายและเกิดใหม่ในภพภูมิที่เป็นสุขตามบุญกุศลที่ได้สร้างสมไว้  ดังนั้นการพัฒนาให้ผู้ที่ทำงานที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วยภาวะใกล้ตายมีความรู้และทักษะการให้คำปรึกษาจะมีประโยชน์อย่างยิ่งกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและญาติ และยังตอบสนองความต้องการของบุคลากรที่ต้องดูแลผู้ป่วยภาวะใกล้ตายรวมทั้งบุคคลทั่วไปด้วย เนื่องจากในชีวิตของทุกคนต้องประสบกับภาวะเช่นนี้ ไม่เร็วก็ช้าเพราะความตายคือสัจธรรม

6. วัตถุประสงค์
 

6.1 เพื่อพัฒนาให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะการให้คำปรึกษาผู้ป่วยภาวะใกล้ตาย

6.2 เพื่อพัฒนาให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะการให้คำปรึกษากับญาติของผู้ป่วยภาวะใกล้ตาย

7. พื้นที่ / ชุมชนเป้าหมาย
 
8. กลุ่มโครงการบริการวิชาการ
  กลุ่ม 4 กลุ่มโครงารบริการวิชาการอื่นๆ (ตามความเชียวชาญ ของคณะ ศูนย์ สำนัก)
9. ชุมชนเป้าหมายบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
  ภายนอกมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80)
- กลุ่มผู้ประกอบการ/บุคลากรด้านอุตสาหกรรมบริการ คน
- กลุ่มบุคลากรทางการศึกษา/องค์กรปกครองท้องถิ่น 25 คน
- กลุ่มอาชีพเกษตรกรในพื้นที่ คน
- กลุ่มชุมชนในพื้นที่ คน
- อื่นๆ (ระบุ) 5 คน


ภายใมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (ไม่เกินร้อยละ 20)

- นักศึกษา คน
- อาจารย์ คน
- อื่นๆ (ระบุ) คน
10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ เชิงปริมาณ / เชิงคุณภาพ
 

9.1 ด้านผลผลิต (output)

     คณะครุศาสตร์มีการบริการวิชาการเรื่องการให้คำปรึกษาผู้ป่วยภาวะใกล้ตายกับบุคลที่สนใจในจังหวัดกาญจนบุรีและจังหวัดใกล้เคียง

9.2 ด้านผลลัพธ์  (outcome)

     ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้และทักษะการให้คำปรึกษาผู้ป่วยภาวะใกล้ตายและญาติ

 9.3 ด้านผลกระทบ (impact)

     ผู้ป่วยภาวะใกล้ตายและญาติได้รับการบำบัดทางจิตใจเพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี

11. วิธีดำเนินการ
 

11.1 สถานที่ดำเนินการ

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

 

11.2 แผนการดำเนิน

ขั้นตอนดำเนินการ
พ.ศ.2561
พ.ศ.2562
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.

1.ประชุมวางแผน

 

 
 
 
/
 
 
 
 
 
 
 
 
2.เสนอโครงการเพื่ออนุมัติ
 
 
 
 
/
 
 
 
 
 
 
 
3.ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
 
 
 
 
 
 
 
 
/
 
 
 
4.ประเมินผลโครงการ
 
 
 
 
 
 
 
 
/
 
 
 
5.รายงานผลการดำเนิน
 
 
 
 
 
 
 
 
/
 
 
 
6.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
7.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
8.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
9.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
10.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
11.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
12.                        
13.                        
14.                        
15.                        
12. งบประมาณ
 
รายการ
จำนวนเงิน

    1.  ค่าตอบแทน 

     (ให้ระบุรายละเอียดจำนวนคน/จำนวนวัน/อัตราที่ขอตั้งค่าตอบแทน)

1)        1.1  ค่าตอบแทนวิทยากร

          ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน จำนวน 12 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 300 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท

    1.2  ค่าตอบแทนผู้ปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ

           ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานนอกเวลา จำนวน 3 คน คนละ 2 วัน  วันละ 240 บาท คิดเป็นเงิน  1,440 บาท

 

5040

2. ค่าใช้สอย

    (ให้ระบุรายละเอียดจำนวนคน/จำนวนวัน/อัตราที่ขอตั้งค่าใช้สอย)

       2.1 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

1)               ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับวิทยากร  เจ้าหน้าที่ และผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 35 คน  จำนวน 4 มื้อ มื้อละ 25 บาท ต่อ คน คิดเป็นเงิน 3500 บาท

2)          2.3 ค่าอาหารกลางวัน

3)               ค่าอาหารกลางวัน สำหรับวิทยากร  เจ้าหน้าที่ และผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 35 คน  จำนวน 2 มื้อ มื้อละ 80 บาท ต่อ คน คิดเป็นเงิน 5,600 บาท

4)          2.4 ค่าจ้างเหมาบริการ

5)                2.4.1 ค่าจ้างเหมาตบแต่งสถานที่  จำนวน 1 ครั้ง  คิดเป็นเงิน 1,000 บาท

6)               2.4.2 ค่าจ้างเหมาผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ จำนวน 1 ครั้ง  คิดเป็นเงิน 1,000 บาท

7)             2.4.3 ค่าจ้างเหมาวิเคราะห์ข้อมูลการประเมินโครงการ จำนวน 1 ครั้ง  คิดเป็นเงิน 1,000 บาท

12100

3. ค่าวัสดุ

    วัสดุสำนักงาน

        ค่าเอกสารและวัสดุประกอบการอบรม ได้แก่ กระดาษ  ปากกา  

1000
รวมงบประมาณ
18140

13. ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
 

มิติที่ 1ความรู้ความเข้าใจของกลุ่มเป้าหมาย

               ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาสาระที่อบรมในระดับดี ร้อย ละ 75

     มิติที่ 2ด้านความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย  4 ประเด็น

             1. ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ

             ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ มีคะแนนเฉลี่ย 3.51 จากคะแนนเต็ม 5

             2. ความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ

             ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการมีคะแนนเฉลี่ย 3.51 จากคะแนนเต็ม 5

             3. ความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก

             ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวกมีคะแนนเฉลี่ย3.51จากคะแนนเต็ม 5

             4. ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการ

             ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจด้านคุณภาพการให้บริการมีคะแนนเฉลี่ย 3.51จากคะแนนเต็ม 5

     มิติที่ 3การนำความรู้ไปใช้ของกลุ่มเป้าหมาย

               ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจด้านนำความรู้ไปใช้ของกลุ่มเป้าหมาย  มีคะแนนเฉลี่ย 3.51 จากคะแนนเต็ม 5

14. การรายงานผลโดยโครงการ/กิจกรรมโดยภาพรวม
 
  สถานะ การอนุมัติ วันที่ อนุมัติ * รูปแบบ วว/ดด/ปปปป เช่น 08/09/2558
          หมายเหตุ
  สถานะ การดำเนินการ วันที่ดำเนินโครงการ * รูปแบบ วว/ดด/ปปปป เช่น 08/09/2558
          หมายเหตุ
  แหล่งงบประมาณ กรณี อื่นๆ ระบุแหล่งเงิน
 
จำนวนเงินที่ขออนุมัติ 18140 บาท
ค่าใช้จ่าย บาท
คงเหลือ บาท
คืนมหาวิทยาลัย บาท
สาเหตุที่คืน