ระบบบริการวิชาการ
รายละเอียดโครงการ
1. ชื่อโครงการ การจัดการเครือข่ายอินเทอร์เน็ตด้วย MikroTik
2. ข้อมูลพื้นฐานของโครงการ
     2.1 ประเภทโครงการ
      โครงการทั่วไป
      โครงการพิเศษตามนโยบายของมหาวิทยาลัย
      โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
     

2.2 ลักษณะโครงการ
    โครงการใหม่
    โครงการต่อเนื่อง ปีที่

3. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ / ภารกิจของหน่วยงาน
  ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริม พัฒนาคุณภาพให้การบริการวิชาการและวิชาชีพ
4. ผู้รับผิดชอบโครงการ
  4.1 ชื่อผู้รับผิดชอบโครงการ 
       หน่วยงาน :
4.2 หน่วยงานร่วม ภายใน ภายนอก
5. หลักการและเหตุผล
 

     โครงการอบรมหลักสูตร "การจัดการเครือข่ายอินเทอร์เน็ตด้วย MikroTik" นี้ผู้เข้าอบรมจะได้ทำความรู้จัก Router อัจฉริยะที่ชื่อ MikroTik Routerboard โดยเป็นอุปกรณ์ขนาดเล็กแต่มีประสิทธิภาพสูงและมีความสามารถที่หลากหลาย รองรับการติดตั้งระบบต่างๆ ได้ด้วยอุปกรณ์เพียงตัวเดียว แต่มีราคาไม่แพง ซึ่งผู้เข้าอบรมจะได้คอนฟิกระบบเหล่านี้ขึ้นมาด้วยตัวเอง เช่น การติดตั้งระบบเครือข่ายปัจจุบันมีความหลากหลายมากขึ้น เช่น ระบบควบคุมการใช้งานเครือข่ายไร้สาย (WiFi Hotspot), ระบบ Load Balance เพื่อแชร์การใช้งานอินเทอร์เน็ต, ระบบเชื่อมโยงเครือข่าย, ระบบควบคุมเวลาใช้งานอินเทอร์เน็ต, การบล็อกเว็บไซต์ที่ไม่เหมาะสมหรือโปรแกรม BitTorrent ซึ่งการติดตั้งระบบเหล่านี้อาจจำเป็นต้องใช้เครื่อง Server หรืออุปกรณ์ที่มีราคาแพงหลายตัว ทำให้อาจไม่เหมาะกับเครือข่ายขนาดเล็กหรือขนาดกลางที่มีงบจำกัด

6. วัตถุประสงค์
 

         1. สามารถบริหารจัดการเครือข่ายอินเทอร์เน็ตด้วย MikroTik เบื้องต้นได้
       2
. เพื่อเป็นการประหยัดงบประมาณการติดตั้ง Firewall หรือการซื้อเครื่อง Server และ Software ที่จะใช้ในการติดตั้งระบบอินเทอร์เน็ตไร้สาย

7. พื้นที่ / ชุมชนเป้าหมาย
 

     ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ศูนยฺคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

8. กลุ่มโครงการบริการวิชาการ
  กลุ่ม 2 กลุ่มโครงการพัฒนาครู
9. ชุมชนเป้าหมายบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
  ภายนอกมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80)
- กลุ่มผู้ประกอบการ/บุคลากรด้านอุตสาหกรรมบริการ คน
- กลุ่มบุคลากรทางการศึกษา/องค์กรปกครองท้องถิ่น 30 คน
- กลุ่มอาชีพเกษตรกรในพื้นที่ คน
- กลุ่มชุมชนในพื้นที่ คน
- อื่นๆ (ระบุ) คน


ภายใมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (ไม่เกินร้อยละ 20)

- นักศึกษา คน
- อาจารย์ คน
- อื่นๆ (ระบุ) คน
10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ เชิงปริมาณ / เชิงคุณภาพ
 
10.1 ผลผลิต
      10.1.1 ผู้เข้ารับอบรมได้รับความรู้ด้านการจัดการเครือข่ายอินเทอร์เน็ตด้วย MikroTik
      10.1.2 ผู้เข้ารับอบรมสามารถจัดการเครือข่ายอินเทอร์เน็ตด้วย MikroTik
  
10.2 ผลลัพธ์
     10.2.1 ผู้เข้ารับอบรมสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ในการจัดการเครือข่ายอินเทอร์เน็ตด้วย MikroTik ของโรงเรียน
     10.2.2 ผู้เข้ารับอบรมนำความรู้  MikroTik สำหรับจัดการเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 
10.3 ผลกระทบ
     10.3.1 เกิดเครือข่ายความร่วมมือของครู โรงเรียน กับมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
     10.3.2 ประชาสัมพันธ์มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
11. วิธีดำเนินการ
 

11.1 สถานที่ดำเนินการ

     ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ (ศูนยฺคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

11.2 แผนการดำเนิน

ขั้นตอนดำเนินการ
พ.ศ.2562
พ.ศ.2563
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
1.เสนอโครงการ
 
/
 
   
 
 
 
 
 
 
 
2.จัดเตรียมข้อมูลและเนื้อหาสำหรับการบริการวิชาการ         
 
/
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
3.ประชาสัมพันธ์โครงการ
    3.1 ผ่านเวบไซด์มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
     3.2 ผ่านสถาบันการ ศึกษาในจังหวัดกาญจนบุรี
 
/
 
 
 
 
 
/
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
4.ดำเนินงานโครงการ
 
 
/
 
 
 
 
 
 
 
 
 
5.สรุปผลโครงการ
 
 
/
 
 
 
 
 
 
 
 
 

12. งบประมาณ
 
รายการ
จำนวนเงิน

1. ค่าตอบแทน
        จำนวน 3 คน ๆ ละ 3 วัน ๆ ละ 6 ช.ม. ๆ 300 บาท (3x3x6x300)

 
 
16,200 บาท
 
 

2. ค่าใช้สอย
     2.1 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มของผู้อบรมสัมนา

จำนวน 30 คน ๆ ละ 3 วัน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 25 บาท (30x3x2x25)

     2.2 ค่าอาหารกลางวันของผู้อบรมสัมนา

จำนวน 30 คน ๆ ละ 3 วัน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 80 บาท (30x3x1x80)

4,500 บาท

 

7,200 บาท

3. ค่าวัสดุ
     3.1 วัสดุสำนักงาน

      - ค่าสำเนาเอกสารประกอบการอบรมสัมนา 30 ชุด ๆ ละ 100 บาท
      - ชุดสำหรับทำเกียรติบัตร
      - เอกสารประชาสัมพันธ์

     3.2 วัสดุคอมพิวเตอร์
      - วัสดุคอมพิวเตอร์สำหรับฝึกอบรม

 
 
 
3,000 บาท
2,500 บาท
1,500 บาท
 
 
25,000 บาท
 
รวมงบประมาณ
59,900 บาท

13. ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
 
มิติที่ 1 ความรู้ความเข้าใจของกลุ่มเป้าหมาย
 
- ผู้เข้าอบรมมีความรู้การพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่น 4.0 ร้อยละ 80 ขึ้นไป
- ผู้เข้าอบรมสามารถสร้างเว็บแอพพลิเคชันเบื้องต้นได้ ร้อยละ 80 ขึ้นไป
 
มิติที่ 2 ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย 3.51 ขึ้นไป
 
1. ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ
2. ความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ
3. ความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก
4. ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการ
 
มิติที่ 3 การนำความรู้ไปใช้ของกลุ่มเป้าหมาย
 
- ผู้เข้ารับอบรมสามารถนำความรู้ไปประยุกต์การพัฒนาเว็บแอพพลิเคชันหรือถ่ายทอดให้กับนักเรียนและบุคคลอื่นๆได้ ร้อยละ 80 ขึ้นไป
- ผู้เข้ารับอบรมนำความรู้ทางด้านการพัฒนาเว็บกับการเรียนการสอน ร้อยละ 80 ขึ้นไป

มิติที่ 1 ความรู้ความเข้าใจของกลุ่มเป้าหมาย

- ผู้เข้าอบรมมีความรู้การพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่น 4.0 ร้อยละ 80 ขึ้นไป
- ผู้เข้าอบรมสามารถสร้างเว็บแอพพลิเคชันเบื้องต้นได้ ร้อยละ 80 ขึ้นไป

มิติที่ 2 ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย 3.51 ขึ้นไป

1. ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ
2. ความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ
3. ความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก
4. ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการ

มิติที่ 3 การนำความรู้ไปใช้ของกลุ่มเป้าหมาย

- ผู้เข้ารับอบรมสามารถนำความรู้ไปประยุกต์การพัฒนาเว็บแอพพลิเคชันหรือถ่ายทอดให้กับนักเรียนและบุคคลอื่นๆได้ ร้อยละ 80 ขึ้นไป
- ผู้เข้ารับอบรมนำความรู้ทางด้านการพัฒนาเว็บกับการเรียนการสอน ร้อยละ 80 ขึ้นไป

มิติที่ 1 ความรู้ความเข้าใจของกลุ่มเป้าหมาย
     - ผู้เข้าอบรมมีความรู้ในการใช้งาน MikroTik ร้อยละ 80 ขึ้นไป
     - ผู้เข้าอบรมสามารถใช้งาน MikroTik ในการจัดการเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ร้อยละ 80 ขึ้นไป
 
มิติที่ 2 ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย 3.51 ขึ้นไป
     - ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ
     - ความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ
     - ความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก
     - ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการ
 
มิติที่ 3 การนำความรู้ไปใช้ของกลุ่มเป้าหมาย
     - ผู้เข้ารับอบรมสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการเครือข่ายอินเทอร์เน็ตของโรงเรียนได้ ร้อยละ 80 ขึ้นไป
     - ผู้เข้ารับอบรมนำความรู้ด้านการบริหารเครือข่ายด้วย  MikroTik ไปใช้ได้ร้อยละ 80 ขึ้นไป
14. การรายงานผลโดยโครงการ/กิจกรรมโดยภาพรวม
 
14.1ด้านความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาเว็บแอพพลิเคชัน
 
              วิธีการ       - ประเมินผลด้วยการทดสอบความรู้ก่อนอบรมและหลังอบรม
 
              เครื่องมือ   - แบบทดสอบก่อนอบรมและหลังอบรม
 
              ระยะเวลา   - ธันวาคม 2562
 
14.2 ด้านการนำความรู้ไปใช้งาน
 
             วิธีการ       - ตรวจสอบและประเมินโครงงาน
 
              เครื่องมือ  - แบบประเมิน 
 
              ระยะเวลา   -ธันวาคม 2561 - มกราคม 256214.1ด้านความรู้ความเข้าใจในการพัฒนาเว็บแอพพลิเคชัน
 
              วิธีการ       - ประเมินผลด้วยการทดสอบความรู้ก่อนอบรมและหลังอบรม
 
              เครื่องมือ    -แบบทดสอบก่อนอบรมและหลังอบรม
 
              ระยะเวลา   -ธันวาคม 2561
 
14.2 ด้านการนำความรู้ไปใช้งาน
 
             วิธีการ       - ตรวจสอบและประเมินโครงงาน
 
              เครื่องมือ    -แบบประเมินคะแนนโครงงานจากการสร้างเว็บแอพพลิเคชันเบื้องต้น
 
              ระยะเวลา   -ธันวาคม 2561 - มกราคม 2562
  สถานะ การอนุมัติ วันที่ อนุมัติ * รูปแบบ วว/ดด/ปปปป เช่น 08/09/2558
          หมายเหตุ
  สถานะ การดำเนินการ วันที่ดำเนินโครงการ * รูปแบบ วว/ดด/ปปปป เช่น 08/09/2558
          หมายเหตุ
  แหล่งงบประมาณ กรณี อื่นๆ ระบุแหล่งเงิน
 
จำนวนเงินที่ขออนุมัติ 59900 บาท
ค่าใช้จ่าย บาท
คงเหลือ บาท
คืนมหาวิทยาลัย บาท
สาเหตุที่คืน