ระบบบริการวิชาการ
รายละเอียดโครงการ
1. ชื่อโครงการ การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนสู่เป้าหมาย “อยู่ดีกินดี”
2. ข้อมูลพื้นฐานของโครงการ
     2.1 ประเภทโครงการ
      โครงการทั่วไป
      โครงการพิเศษตามนโยบายของมหาวิทยาลัย
      โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
     

2.2 ลักษณะโครงการ
    โครงการใหม่
    โครงการต่อเนื่อง ปีที่

3. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ / ภารกิจของหน่วยงาน
  ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริม พัฒนาคุณภาพให้การบริการวิชาการและวิชาชีพ
4. ผู้รับผิดชอบโครงการ
  4.1 ชื่อผู้รับผิดชอบโครงการ 
       หน่วยงาน :
4.2 หน่วยงานร่วม ภายใน ภายนอก

องค์การบริหารส่วนตำบลวังเย็น    

5. หลักการและเหตุผล
 

ในยุคโลกาภิวัฒน์ ปัญหาต่างๆ มีความสลับซับซ้อน และเปลี่ยนแปลงรวดเร็วยิ่งขึ้น การแก้ปัญหาจำเป็นต้องมีความรอบคอบ โดยคำนึงถึงผลกระทบอย่างรอบด้าน ต้องมีความรอบรู้ และต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจจากทุกฝ่าย จะต้องสร้างการเรียนรู้ร่วมกัน ตั้งแต่กระบวนการร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมสรุปบทเรียน จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อทุกคนยอมรับซึ่งกันและกัน การรวมตัวของประชาชนที่หลากหลายทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิด องค์ความรู้ และต่อเชื่อม ประสบการณ์อย่างกว้างขวาง เป็นการเสริมพลังซึ่งกันและกัน สร้างโอกาสให้ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยังต้องสร้างการบริหารจัดการร่วมกัน เพื่อสร้างความเข้มแข็งของชุมชนฐานราก ให้ชุมชนท้องถิ่นมีสิทธิ หน้าที่ และบทบาทในการจัดการทรัพยากรสาธารณะมากขึ้น ทำให้ท้องถิ่นเข้มแข็ง เกิดการประสานงานงบประมาณระหว่างองค์กรต่างๆ ทั้งในแนวราบกับท้องถิ่น/หน่วยงานอื่นๆ และในแนวดิ่งกับส่วนกลาง

          คณะวิทยาการจัดการได้ให้นโยบายแก่สาขาวิชาต่าง ๆ ในสังกัดได้ดำเนินโครงการ เพื่อให้เป็นไปในทิศทางและแนวทางเดียวกันกับนโยบายของคณะฯและมหาวิทยาลัย ดังนั้นจากความจำเป็นในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นทั้งในเชิงวิชาการและวิชาชีพ คณะวิทยาการจัดการจึงได้ดำเนินโครงการบูรณาการวิชาการเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนท้องถิ่นขึ้น อันจะเป็นการตอบสนองนโยบายดังกล่าวและนำไปสู่การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนสู่เป้าหมาย  “อยู่ดีกินดี” ต่อไป โดยกิจกรรมที่จะดำเนินการ คือ ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างอาชีพให้กับชุมชนบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียงด้วยการทำสบู่ฟักข้าว และน้ำยาล้างจาน ให้ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบบรรจุภัณฑ์ และความรู้เกี่ยวกับการทำการตลาดออนไลน์ เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีรายได้เพิ่มเติมนอกเหนือจากการประกอบอาชีพหลัก

6. วัตถุประสงค์
 

6.1 เพื่อบูรณาการศาสตร์ความรู้วิชาการของแต่ละหลักสูตรในคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

6.2 เพื่อเสริมสร้างความสามัคคีในองค์กรราชการ สร้างสัมพันธมิตรเครือข่ายบูรณาการ

6.3 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างอาชีพให้กับชุมชนบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียงด้วยการทำสบู่ฟักข้าว และน้ำยาล้างจาน

6.4 เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบบรรจุภัณฑ์

6.5 เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการทำการตลาดออนไลน์       

7. พื้นที่ / ชุมชนเป้าหมาย
 

ชุมชนวังเย็น ตำบลวังเย็น อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี      

8. กลุ่มโครงการบริการวิชาการ
  กลุ่ม 3 กลุ่มโครงการพัฒนาเสริมสร้างความเข้มแข็งและการส่งเสริมอาชีพ
9. ชุมชนเป้าหมายบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
  ภายนอกมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80)
- กลุ่มผู้ประกอบการ/บุคลากรด้านอุตสาหกรรมบริการ คน
- กลุ่มบุคลากรทางการศึกษา/องค์กรปกครองท้องถิ่น คน
- กลุ่มอาชีพเกษตรกรในพื้นที่ คน
- กลุ่มชุมชนในพื้นที่ คน
- อื่นๆ (ระบุ) ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชน และผู้สนใจ 30 คน


ภายใมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (ไม่เกินร้อยละ 20)

- นักศึกษา คน
- อาจารย์ คน
- อื่นๆ (ระบุ) คน
10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ เชิงปริมาณ / เชิงคุณภาพ
 

13.1 ด้านผลผลิต (output)

13.1.1 ชุมชนได้รับความรู้เกี่ยวกับการทำสบู่ฟักข้าว และน้ำยาล้างจาน

13.1.2 ชุมชนได้รับความรู้เกี่ยวกับการออกแบบบรรจุภัณฑ์

13.1.3 ชุมชนความรู้เกี่ยวกับการทำการตลาดออนไลน์

13.2 ด้านผลลัพธ์ (outcome)

     ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างอาชีพให้กับชุมชนบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง และการที่ชุมชนมีช่องทางการจำหน่ายในตลาดออนไลน์ที่เพิ่มขึ้น จะสามารถทำให้ชุมชนมีรายได้ที่สูงขึ้น สามารถนำมาจุนเจือครอบครัวและช่วยส่งเสริมให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง

13.3 ด้านผลกระทบ (impact)

     เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน พร้อมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างอาชีพให้กับชุมชนบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง

11. วิธีดำเนินการ
 

11.1 สถานที่ดำเนินการ

11.1  สถานที่ดำเนินโครงการ ชุมชนวังเย็น ตำบลวังเย็น อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี

11.2  วัน/เดือน/ปี ที่จัดกิจกรรมโครงการ   เดือนพฤษภาคม 2562

11.3 แผนการดำเนินการ / ปฎิทินปฏิบัติงาน

 

11.2 แผนการดำเนิน

ขั้นตอนดำเนินการ
พ.ศ.2561
พ.ศ.2562
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
1.เสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
/
/
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2.ประชาสัมพันธ์โครงการ
 
 
/
/
/
/
/
 
 
 
 
 
3.ลงพื้นที่สำรวจข้อมูล
 
 
 
 
/
 
 
 
 
 
 
 
4.ประชุม วางแผนการดำเนินงาน
 
 
 
 
 
/
/
 
 
 
 
 
5.ประสานงานกับหน่วยงานท้องถิ่น
 
 
 
 
 
/
/
 
 
 
 
 
6.เตรียมวัสดุอุปกรณ์เพื่อดำเนินโครงการ
 
 
 
 
 
/
/
 
 
 
 
 
7.ดำเนินกิจกรรมตามแผนงาน

     7.1 ให้ความรู้เกี่ยวกับการทำสบู่ฟักข้าว และน้ำยาล้างจาน

     7.2 ให้ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบบรรจุภัณฑ์

     7.3ให้ความรู้เกี่ยวกับการทำการตลาดออนไลน์
 
 
 
 
 
 
 
/
 
 
 
 
8. ประเมินโครงการ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
/
 
 
9.รายงานสรุปผล
 
 
 
 
 
 
 
 
 
/
 
 
10.ติดตามผลการดำเนินงาน
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
/
 
11.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
12.                        
13.                        
14.                        
15.                        
12. งบประมาณ
 
รายการ
จำนวนเงิน

1. ค่าตอบแทน

1.1  ค่าตอบแทนวิทยากรภายใน  3  ท่าน ชั่วโมงละ 300 ภายนอก 1 ท่าน ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน  6  ชั่วโมง จำนวน 1 วัน  

 
 
9,000

2. ค่าใช้สอย

2.1ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 35ชุด ชุดละ 25บาท  เช้า-บ่าย จำนวน 1 วัน

2.2ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 วัน ชุดละ 80 บาท  จำนวน 35คน

2.3ค่าเช่าสถานที

2.4 ค่าเอกสารฝึกอบรม จำนวน 30 ชุด ชุดละ 100 บาท จำนวน 3 กิจกรรม

2.5 ค่าของที่ระลึก 1 ชิ้น

1,750

2,800

2,000

3,000

1,500

 

 

 

3. ค่าวัสดุ

    3.1 วัสดุสำนักงาน(เช่น ดินสอ ยางลบ ปากกา กระดาษ กรรไกร  เป็นต้น)          

    3.2 วัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่น

    3.3วัสดุป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ

    3.4ชุดอุปกรณ์การทำสบู่ จำนวน 6 ชุด ชุดละ 1,200 บาท

    3.5 ชุดอุปกรณ์ทำน้ำยาล้างจาน จำนวน 6 ชุด ชุดละ 1,300 บาท

 
 
5,150
 
1,000
 
1,200
 
7,200
 
7,800
รวมงบประมาณ
42,400
13. ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
 

มิติที่ 1  ความรู้ความเข้าใจของกลุ่มเป้าหมาย

1.  ชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการทำสบู่ฟักข้าว และน้ำยาล้างจาน

2.  ชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการออกแบบบรรจุภัณฑ์

3.  ชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการตลาดออนไลน์

มิติที่ 2  ด้านความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย  4 ประเด็น

          1. ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ

-  ไม่น้อยกว่าร้อยละ  90

          2. ความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ

-   ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90

          3. ความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก

-   ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90

          4. ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการ

-  ไม่น้อยกว่าร้อยละ  90

    มิติที่ 3  การนำความรู้ไปใช้ของกลุ่มเป้าหมาย

        ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างอาชีพให้กับชุมชนบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนมีรายได้จากการขายสินค้าออนไลน์

14. การรายงานผลโดยโครงการ/กิจกรรมโดยภาพรวม
 

-

  สถานะ การอนุมัติ วันที่ อนุมัติ * รูปแบบ วว/ดด/ปปปป เช่น 08/09/2558
          หมายเหตุ
  สถานะ การดำเนินการ วันที่ดำเนินโครงการ * รูปแบบ วว/ดด/ปปปป เช่น 08/09/2558
          หมายเหตุ
  แหล่งงบประมาณ กรณี อื่นๆ ระบุแหล่งเงิน
 
จำนวนเงินที่ขออนุมัติ 42400 บาท
ค่าใช้จ่าย บาท
คงเหลือ บาท
คืนมหาวิทยาลัย บาท
สาเหตุที่คืน