ระบบบริการวิชาการ
รายละเอียดโครงการ
1. ชื่อโครงการ จัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น (KM)
2. ข้อมูลพื้นฐานของโครงการ
     2.1 ประเภทโครงการ
      โครงการทั่วไป
      โครงการพิเศษตามนโยบายของมหาวิทยาลัย
      โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
     

2.2 ลักษณะโครงการ
    โครงการใหม่
    โครงการต่อเนื่อง ปีที่

3. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ / ภารกิจของหน่วยงาน
  ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริม พัฒนาคุณภาพให้การบริการวิชาการและวิชาชีพ
4. ผู้รับผิดชอบโครงการ
  4.1 ชื่อผู้รับผิดชอบโครงการ 
       หน่วยงาน :
4.2 หน่วยงานร่วม ภายใน ภายนอก
5. หลักการและเหตุผล
 

พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มาตรา 11 กำหนดไว้ว่า ส่วนราชการมีหน้าที่พัฒนาความรู้ในส่วนราชการ เพื่อให้มีลักษณะเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ โดยต้องรับรู้ข้อมูลข่าวสารและสามารถประมวลผลความรู้ในด้านต่างๆ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว เหมาะสมกับสถานการณ์ รวมทั้งต้องส่งเสริมและพัฒนาความรู้ ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์ และปรับเปลี่ยนทัศนคติของบุคลากรในสังกัดให้เป็นบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ และมีการเรียนรู้ร่วมกัน เกิดการพัฒนาระบบการจัดการความรู้ในหน่วยงาน โดยมีกระบวนการในการสรรหาความรู้เพื่อถ่ายทอดและแบ่งปันไปยังบุคลากรเป้าหมายได้อย่างถูกต้อง

การจัดการความรู้เป็นเครื่องมือสำคัญในการรวบรวมความรู้ทั้งที่เป็นความรู้ที่ฝังอยู่ในตัวบุคคล (Tacit Knowledge) และความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) มาพัฒนาให้เป็นระบบเพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้และมีการแบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เสริมสร้างศักยภาพขององค์กรให้มีความสามารถในการแข่งขันระดับสูง นอกจากนั้นการจัดการความรู้เป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนางาน โดยนำองค์ความรู้ขององค์กรมาพัฒนาและแก้ไขระบบการทำงานในองค์กรให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ถือเป็นหน่วยงานที่มีความใกล้ชิดกับประชาชน กระจายอยู่ทั่วทุกพื้นที่ มีอำนาจในการบริหารจัดการตนเอง และมีความสำคัญในฐานะเป็นกลไก ในการกระจายทรัพยากรการพัฒนาของรัฐไปสู่ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 16 “ให้เทศบาลเมืองพัทยาและองค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง” ประกอบกับกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ได้กำหนดให้การจัดการความรู้เป็นตัวชี้วัดหนึ่งในมิติด้านการพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และการจัดการความรู้ของบุคลากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถือเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้องค์กรมีฐานความรู้ที่มีคุณค่าและสามารถต่อยอดความรู้เพิ่มมากขึ้น

สาขารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มีบทบาทและหน้าที่ในการดำเนินกิจกรรมเพื่อสนองตอบต่อพันธกิจของมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี ในการบริการวิชาการสู่ชุมชนท้องถิ่น ได้เห็นความสำคัญของการนำกระบวนการจัดการความรู้มาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาคน พัฒนางาน พัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพและพัฒนาฐานความรู้ภายในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จึงจัดโครงการบริการวิชาการ “โครงการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (KM)” เพื่อส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความรู้ที่เป็นระบบ สะดวกต่อการค้นหา แลกเปลี่ยน แบ่งปัน เผยแพร่และนำมาใช้ ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างมากต่อองค์กรและการพัฒนาความสามารถและประสิทธิภาพของบุคลากรในองค์กร อันเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการบริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ส่งผลต่อความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชนในท้องถิ่นนั้นเอง

6. วัตถุประสงค์
 

1. เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการความรู้ให้กับบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การดำเนินงานและสนับสนุนให้เกิดการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ต่อการพัฒนาการทำงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

3. เพื่อพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีบทบาทในการขับเคลื่อนการจัดการความรู้ สามารถประยุกต์ใช้แนวปฏิบัติการจัดการความรู้ที่สอดคล้องกับบริบทการพัฒนาท้องถิ่น

4. เพื่อสร้างความร่วมมือด้านบริการวิชาการแก่ชุมชน จังหวัดกาญจนบุรี

7. พื้นที่ / ชุมชนเป้าหมาย
 
8. กลุ่มโครงการบริการวิชาการ
  กลุ่ม 4 กลุ่มโครงารบริการวิชาการอื่นๆ (ตามความเชียวชาญ ของคณะ ศูนย์ สำนัก)
9. ชุมชนเป้าหมายบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
  ภายนอกมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80)
- กลุ่มผู้ประกอบการ/บุคลากรด้านอุตสาหกรรมบริการ คน
- กลุ่มบุคลากรทางการศึกษา/องค์กรปกครองท้องถิ่น 100 คน
- กลุ่มอาชีพเกษตรกรในพื้นที่ คน
- กลุ่มชุมชนในพื้นที่ คน
- อื่นๆ (ระบุ) คน


ภายใมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (ไม่เกินร้อยละ 20)

- นักศึกษา คน
- อาจารย์ 5 คน
- อื่นๆ (ระบุ) คน
10. ผลที่คาดว่าจะได้รับ เชิงปริมาณ / เชิงคุณภาพ
 

13.1 ผลผลิต

ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 100 คนได้รับความรู้ด้านการจัดการความรู้


13.2 ผลลัพธ์

ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 100 คนเกิดความสัมพันธ์อันดีต่อกัน เกิดระบบการเรียนรู้งานในหน่วยงานตนเอง


13.3 ผลกระทบ

ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในงานจนเกิดวัฒนธรรมการทำงานในองค์การบนพื้นฐานของความรู้

11. วิธีดำเนินการ
 

11.1 สถานที่ดำเนินการ

เทศบาลตำบลหนองบัว และองค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัว

 

11.2 แผนการดำเนิน

ขั้นตอนดำเนินการ
พ.ศ.2561
พ.ศ.2562
ต.ค.
พ.ย.
ธ.ค.
ม.ค.
ก.พ.
มี.ค.
เม.ย.
พ.ค.
มิ.ย.
ก.ค.
ส.ค.
ก.ย.
1.ประชุมวางแผน
*
*
*
 
 
 
 
 
 
 
 
 
2.จัดทำแผนบริการวิชาการ
 
 
 
*
 
 
 
 
 
 
 
 
3.ประชุมคณะทำงาน
 
 
 
 
*
 
 
 
 
 
 
 
4.ดำเนินโครงการบริการวิชาการ
 
 
 
 
 
*
 
 
 
 
 
 
5.สรุปผลการดำเนินงาน
 
 
 
 
 
 
*
 
 
 
 
 
6.ติดตามผลการดำเนินงาน
 
 
 
 
 
 
 
 
*
 
*
 
7.รายงานผลการดำเนินงาน
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
*
 
8.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
9.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
10.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
11.
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
12.                        
13.                        
14.                        
15.                        

12. งบประมาณ
 

รายการ
จำนวนเงิน

1. ค่าตอบแทน 

-  ค่าตอบแทนวิทยากร (ภายใน) จำนวน 5 คนๆ ละ 2 วันๆ 6 ชั่วโมงๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 18,000 บาท

18,000

2. ค่าใช้สอย

2.1 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม

- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 100 คน จำนวน 2 มื้อๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท

2.2 ค่าอาหารกลางวัน

- ค่าอาหารกลางวันจำนวน 100 คน จำนวน 1 มื้อๆ ละ 80 บาท เป็นเงิน 8,000 บาท

13,000

3. ค่าวัสดุ

3.1 วัสดุสำนักงาน

     - ค่าวัสดุอุปกรณ์สำหรับการจัดกิจกรรม เป็นเงิน 3,000 บาท

    3.2 วัสดุโฆษณาและเผยแพร่

     - ค่าแผ่นป้ายโครงการจำนวน 1 แผ่นป้าย เป็นเงิน 500 บาท 

3,500

4. ค่าติดตามประเมินผลโครงการ

  4.1 การติดตามประเมินผลระยะที่ 1 

     - ค่าเครื่องมือและเอกสารประกอบการติดตามผลและการรายงานผล เป็นเงิน 3,000 บาท

    4.2 การติดตามประเมินผลระยะที่ 2 

     - ค่าเครื่องมือและเอกสารประกอบการติดตามผลและการรายงานผล เป็นเงิน 3,000 บาท

6,000
รวมงบประมาณ
40,500

13. ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ
 

มิติที่ 1 ความรู้ความเข้าใจของกลุ่มเป้าหมาย

ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 100 คนมีความเข้าใจการจัดการความรู้


มิติที่ 2 ความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมาย

1. ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ

ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 100 คนมีความพึงพอใจไม่ต่ำกว่า 3.51

2. ความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ

ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 100 คนมีความพึงพอใจไม่ต่ำกว่า 3.51

3. ความพึงพอใจด้านสิ่งอำนวยความสะดวก

ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 100 คนมีความพึงพอใจไม่ต่ำกว่า 3.51

4. ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการ

ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 100 คนมีความพึงพอใจไม่ต่ำกว่า 3.51


มิติที่ 3 การนำความรู้ไปใช้ของกลุ่มเป้าหมาย

3.1 ผู้รับบริการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 100 คนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันส่งผลให้เกิดวัฒนธรรมองค์การในการทำงานบนพื้นฐานความรู้

3.2 ความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อประโยชน์จากการบริการวิชาการ

 

ผู้เข้าร่วมจำนวน 100 คนมีความพึงพอใจต่อประโยชน์จากการบริการวิชาการไม่ต่ำกว่า 3.51


14. การรายงานผลโดยโครงการ/กิจกรรมโดยภาพรวม
 

รายงานผลการดำเนินงานหลังจากมีการติดตามผลการนำเอาความรู้ไปใช้ในระยะที่ 2 เพื่อเป็นการวัดผลสำเร็จของโครงการ ในเดือน สิงหาคม พ.ศ. 2562

  สถานะ การอนุมัติ วันที่ อนุมัติ * รูปแบบ วว/ดด/ปปปป เช่น 08/09/2558
          หมายเหตุ
  สถานะ การดำเนินการ วันที่ดำเนินโครงการ * รูปแบบ วว/ดด/ปปปป เช่น 08/09/2558
          หมายเหตุ
  แหล่งงบประมาณ กรณี อื่นๆ ระบุแหล่งเงิน
 
จำนวนเงินที่ขออนุมัติ 40500 บาท
ค่าใช้จ่าย บาท
คงเหลือ บาท
คืนมหาวิทยาลัย บาท
สาเหตุที่คืน